Engi Bachelor Compu52

   EMBED

Share

Preview only show first 6 pages with water mark for full document please download

Transcript

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 49 (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง -2- -3- สารบัญ หนา 1. ชื่อหลักสูตร ................................................................................................................................. 5 2. ชื่อปริญญา ................................................................................................................................. 5 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ.................................................................................................................. 5 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร ........................................................................................... 5 5. กําหนดการเปดสอน..................................................................................................................... 6 6. คุณสมบัตขิ องผูเขาศึกษา ............................................................................................................. 6 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา ................................................................................................................ 6 8. ระบบการศึกษา ........................................................................................................................... 6 9. ระยะเวลาการศึกษา..................................................................................................................... 7 10. การลงทะเบียนเรียน.................................................................................................................... 7 11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา ............................................................................................... 7 12. อาจารย ..................................................................................................................................... 8 13. จํานวนนักศึกษา ....................................................................................................................... 25 14. สถานที่และอุปกรณการสอน...................................................................................................... 25 15. หองสมุด .................................................................................................................................. 26 16. งบประมาณ ............................................................................................................................. 32 17. หลักสูตร .................................................................................................................................. 32 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร.............................................................................. 32 17.2 โครงสรางของหลักสูตร................................................................................................ 32 17.3 รายวิชา ..................................................................................................................... 33 17.4 ความหมายของรหัสประจํารายวิชา .............................................................................. 43 17.5 แผนการศึกษา............................................................................................................ 44 17.6 คําอธิบายรายวิชา....................................................................................................... 54 18. จํานวนเอกสาร ......................................................................................................................... 95 19. เหตุผลในการขอปรับปรุงหลักสูตร .............................................................................................. 96 ภาคผนวก ก. ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2551.................................................................................................................. 103 ภาคผนวก ข. การประกันคุณภาพหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)....................................................................................................... 129 ภาคผนวก ค. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ฉบับ พ.ศ. 2551 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง ................................................................................................................................... 143 -4- -5- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------- 0 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ 1 2 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม (ไทย) ชื่อยอ (ไทย) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) ชื่อยอ (อังกฤษ) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร : Bachelor of Engineering Program in Computer Engineering : : : : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) Bachelor of Engineering (Computer Engineering) B.Eng. (Computer Engineering) 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 4.1 ปรัชญาของหลักสูตร การศึกษา วิจยั ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนหนึง่ ในรากฐานของการพัฒนาประเทศ 4.2 วัตถุประสงค 1. ผลิตบัณฑิตทีม่ ีความรูพ ื้นฐานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอรเพื่อปอนตลาดแรงงาน ภาคอุตสาหกรรม ราชการ และเอกชน 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูค วามสามารถดานการวิจัยและมีศักยภาพในการศึกษาขัน้ สูงตอไป -6- 3. ฝกหัดและอบรมบัณฑิตใหเปนผูมีวนิ ัย ความคิด และการทํางานอยางมีระบบเพียบพรอมดวย คุณธรรมและจริยธรรม 4. ใหบริการทางวิชาการสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรแกสังคม 4 5. กําหนดการเปดสอน ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2552 เปนตนไป 6. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา เปนผูผานการคัดเลือกตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ และ/หรือ เปนผูผ านการคัดเลือกตาม ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี 8. ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษา หนึง่ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห การศึกษาภาคฤดูรอนกําหนดใหมีระยะเวลา และจํานวนหนวยกิตเทียบเคียงกันไดกับการศึกษาภาคปกติ 7 การคิดหนวยกิต 8.1 รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา ไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ปกติ ใหมีคา เทากับ 1 หนวยกิตในระบบทวิภาค 8.2 รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลอง ไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมคี า เทากับ 1 หนวยกิตในระบบทวิภาค 8.3 การฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกหรือทดลอง ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ปกติ ใหมีคา เทากับ 1 หนวยกิตในระบบทวิภาค 8.4 การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอืน่ ใดตามที่ไดรับมอบหมาย ที่ใชเวลาทําโครงงานหรือ กิจกรรมนัน้ ๆ ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคา เทากับ 1 หนวยกิตในระบบทิว ภาค -7- 8 9 9. ระยะเวลาการศึกษา ใหใชเวลาการศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษา 10. การลงทะเบียนเรียน 10.1 จํานวนหนวยกิตการลงทะเบียนเรียน ใหลงทะเบียนไดไมนอยกวา 9 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในแตละภาคการศึกษาปกติ และไมเกิน 9 หนวยกิต สําหรับการศึกษาภาคฤดูรอน หากตองลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ให เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา ระดับปริญญาตรี 10.2 ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน สําเร็จการศึกษาไดไมกอน 6 ภาคการศึกษาปกติ 11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 10 ตองเรียนครบตามจํานวนหนวยกิตทีก่ ําหนดของหลักสูตร โดยตองไดแตมเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน จึงจะถือวาเรียนจบหลักสูตร -8- 12. อาจารย 12.1 อาจารยประจําหลักสูตร 11 12 ลําดับ 1. 2. ชื่อ – นามสกุล รศ.ดร. สมศักดิ์ มิตะถา รศ. ประทีป บัญญัตินพรัตน คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา อส.บ. 1. งานวิจัย เทคโนโลยีโทรทัศน - Computer System Design สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Microcontroller Application เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - Pattern Recognition - Embedded System Application วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา 2. ตําราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจร เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ตรรก วศ.ด. 3. ภาระงานสอน วิศวกรรมไฟฟา - Digital Circuit and Logic Design สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Computer Hardware Design เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - Advanced Digital Circuit and Logic Design - Microprocessor Interfacing 1. งานวิจัย วศ.บ. โทรคมนาคม - Computer Applications สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Microcomputer Systems เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - Computer Communication M.Eng. Electronics. Engineering Tokai University, Japan 2. ตําราเรียน - ทฤษฎีและการใชงานวงจรดิจิตอล - การสื่อสารขอมูล - โฟลวชารตเบื้องตน 3. ภาระงานสอน - Digital Logic and Circuit Design - Data Communication - Management Information Systems -9- ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 3. ผศ.ดร. เกียรติกูล เจียรนัยธนะกิจ 4. ผศ. ธนา หงษสุวรรณ คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Artificial Intelligence สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Neural Networks เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน M.S. Computer Science Oregon State University, 3. ภาระงานสอน USA - Artificial Intelligence - Compiler Construction - Principle of Computer Programming - Theory of Computations วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Computer Network สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Computer Security เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 3. ภาระงานสอน เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - Campus Network Design - Advanced Computer Network - 10 - ลําดับ 5. ชื่อ – นามสกุล อ. อํานาจ ขาวเน คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา 1. งานวิจัย วศ.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม - Computer Networks สถาบันเทคโนโลยีพระจอม - Image Processing เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 3. ภาระงานสอน เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - Data Communication - Introduction to Local and Wide Area Networks - 11 - 12.2 อาจารยผสู อน 13 ลําดับ 1. ชื่อ – นามสกุล รศ.ดร. ครรชิต ไมตรี คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ วศ.บ. 1. งานวิจัย โทรคมนาคม - Artificial Intelligence สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Pattern Recognition เจาคุณทหารลาดกระบัง - Expert Systems - Knowledge Engineering M.Eng. Electrical Engineering 2. ตําราเรียน Tokai University, Japan - ทฤษฎีขาวสาร - การวิเคราะหและออกแบบวงจรซีเควน D.Eng. Electrical Engineering เชียล Tokai University, Japan 3. ภาระงานสอน - Pattern Recognition - Expert Systems 2. รศ.ดร. บุญวัฒน อัตชู วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมไฟฟา - Image Processing สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Computer Graphics เจาคุณทหารลาดกระบัง - Pattern Recognition วศ.ม. 2. ตําราเรียน วิศวกรรมไฟฟา - ทฤษฎีและการประยุกตใชงาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา ไมโครโปรเซสเซอร เจาคุณทหารลาดกระบัง D.Eng. Electrical Engineering Tokai University, Japan 3. ภาระงานสอน - Digital Logic and Circuit Design - Image Processing - Computer Graphics - Multimedia Systems - Pattern Recognition - 12 - ลําดับ 3. ชื่อ – นามสกุล รศ.ดร. ศุภมิตร จิตตะยโศธร คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา วศ.บ. (เกียรตินิยม) 1. งานวิจัย Computer Engineering - Database Systems สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Information Systems เจาคุณทหารลาดกระบัง - Knowledge Base Systems M. Eng. 2. ตําราเรียน Computer Technology Asian Institute of Technology Thailand 3. ภาระงานสอน - Database Systems Ph.D. - Advanced Database Systems Computer Science The University of Queensland, Australia 4. รศ.ดร. บุญธีร เครือตราชู วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1. งานวิจัย - Pattern Recognition - Machine Learning - Data Mining M.S. Electrical and Computer 2. ตําราเรียน Engineering Oregon State University, USA 3. ภาระงานสอน Ph.D. - Advanced Computer Programming - Machine Learning Electrical and Computer Engineering Oregon State University, USA - 13 - ลําดับ 5. ชื่อ – นามสกุล รศ. กฤตวัน ศิริบูรณ คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา วท.บ. คณิตศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Machine Learning - Pattern Recognition - Data Mining M.S. 2. ตําราเรียน Computer Science Oregon State University, USA 3. ภาระงานสอน - Advanced Computer Programming - Data Structure and Algorithms 6. ผศ.ดร. สมศักดิ์ วลัยรัชต วท.บ. คณิตศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง 1. งานวิจัย - Virtual Reality - Computer Graphics - Multimedia Systems - Image Processing วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 2. ตําราเรียน เจาคุณทหารลาดกระบัง Ph.D. Computational Intelligence and Systems Science Tokyo Institute of Technology, Japan 3. ภาระงานสอน - Computer Graphics - Introduction to Robotics - 14 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 7. ผศ.ดร. ศักดิ์ชัย ทิพยจักษุรัตน คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา วท.บ. สถิติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Computer Networks - Mobile and Wireless Communications - Performance Evaluation on Communication Networks - Queuing System Analysis วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน Ph.D. Computer Science 3. ภาระงานสอน Gunma University, Japan - Computer Networks - Computer Simulation - Telecommunication Networks - Advanced Computer Networks 8. ผศ.ดร. วิศิษฏ หิรัญกิตติ วศ.บ. (เกียรตินิยม) 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Artificial Intelligence สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Software Engineering เจาคุณทหารลาดกระบัง - Semantic Web - Intelligent Agent Ph.D. - Intelligent Transportation System (Computer Science), DIC, - Software Engineering Imperial College of Science, Technology and Medicine, 2. ตําราเรียน University of London, UK 3. ภาระงานสอน - Artificial Intelligence - Software Engineering - Internet Programming - 15 - ลําดับ 9. ชื่อ – นามสกุล ผศ.ดร. ชุติเมษฏ ศรีนิลทา คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร M.S. Computer Engineering Syracuse University, USA Ph.D. Computer Engineering Syracuse University, USA 10. ผศ.ดร. สุรินทร กิตติธรกุล ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Geographic Information Systems - Data Mining - Multimedia Systems 2. ตําราเรียน 3. ภาระงานสอน - Data Structure and Algorithms - Information Systems Analysis and Design - Data Mining - Component-based Software Development วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส - High-Level Synthesis สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Computer Architecture เจาคุณทหารลาดกระบัง - Reconfigurable Computing - VLSI/FPGA Design วศ.ม. - Video/Image Processing วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 2. ตําราเรียน M.S.E.E. - ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร Computer Engineering University of Wisconsin, USA 3. ภาระงานสอน - Operating Systems Ph.D.E.E. - Computer Architecture Computer Engineering - Mobile Computing and Wireless University of Wisconsin, USA Communication - 16 - ลําดับ 11. 12. ชื่อ – นามสกุล ผศ.ดร. อรฉัตร จิตตโสภักตร ผศ. อภิเนตร อูนากูล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส - Image and Video Compression สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Image Retrieval and Indexing เจาคุณทหารลาดกระบัง - Hardware Design on FPGA - Visual Inspection for Industrial M.S. Products Computer Engineering Arizona State University, 2. ตําราเรียน USA. Ph.D. Computer Engineering University of Texas at Arlington, USA 3. ภาระงานสอน - Data Communication - Image Processing - Basic Electronics for Computer Engineering B.Eng. Electrical Engineering Carnegie Mellon University, USA 1. งานวิจัย - Embedded System Design - Software Engineering - Software Process - Network Access Device - Object Oriented Analysis and Design M.Eng. Electrical Engineering Boston University, USA 2. ตําราเรียน 3. ภาระงานสอน - Object Oriented Software Engineering - Unix System Programming - 17 - ลําดับ 13. ชื่อ – นามสกุล ดร. วรวัฒน ลิ้มโภคา คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา Licence E.E.A. Electrical Engineering Grenoble University, France Maitrise E.E.A. Electrical Engineering Grenoble University, France D.Eng. Computer Engineering National Polytechnique Institute Grenoble, France 14. ดร. วัชระ ฉัตรวิริยะ ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Image Processing - Computer Network - Software Engineering 2. ตําราเรียน 3. ภาระงานสอน - Information System Analysis and Design - Computer Network - Management Information System วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Pattern Recognition สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Embedded Systems เจาคุณทหารลาดกระบัง - Business Intelligence วศ.ม. 2. ตําราเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร - เรียนรูแอสเซมบลีสูหลักการเขียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา โปรแกรม เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน Ph.D. - Object Oriented Software Computer Engineering Engineering West Virginia University, - Unix System Programming USA - Pattern Recognition - 18 - ลําดับ 15. ชื่อ – นามสกุล ดร. อรัญญา วลัยรัชต คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา วท.บ. (เกียรตินิยม) ฟสิกส มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Genetic Algorithm - Machine Translation - Artificial Intelligence วศ.ม. 2. ตําราเรียน วิศวกรรมไฟฟา - หลักการเขียนโปรแกรม Win32 และ MFC สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน D.Eng. - System Software Development Computer Engineering - Java Programming Tokai University, Japan - Java Technology - Web Services Programming 16. ดร. ปกรณ วัฒนจตุรพร วศ.บ. (เกียรตินิยม) 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Image Processing สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Pattern Recognition เจาคุณทหารลาดกระบัง - Remote Sensing - Distributed Computing Ph.D. Computer Engineering 2. ตําราเรียน Syracuse University, USA 3. ภาระงานสอน - Operating Systems - Internet Technology - Distributed Computing - Principle of Computer Programming - 19 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 17. อ.ประสาร ตังติสานนท คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา วท.บ. ฟสิกส มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ผลงานทางวิชาการ 1. งานวิจัย - Pattern Recognition - Computer Aided Instruction - Machine Translation วศ.ม. 2. ตําราเรียน วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน - Digital Circuit and Logic Design - Principle of Computer Programming 18. อ. วิบูลย พรอมพานิชย วศ.บ. 1. งานวิจัย - Database System วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Geographic Information Systems เจาคุณทหารลาดกระบัง - Object Technology - Software Engineering M.Eng. Computer Engineering 2. ตําราเรียน Asian Institute of Technology Thailand 3. ภาระงานสอน - Software Engineering - Programming Language Concept - Principle of Computer Programming - 20 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ 19. อ. คณัฐ ตังติสานนท วศ.บ. 1. งานวิจัย อิเล็กทรอนิกส - Computer Hardware Design สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน M.S. Computer Science 3. ภาระงานสอน University of New South - Digital Circuit and Logic Design Wales, Australia - Principle of Computer Programming - Design and Analysis of Algorithm 20. อ. บัณฑิต พัสยา วท.บ. 1. งานวิจัย คณิตศาสตร - Database Systems สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา 3. ภาระงานสอน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Principle of Computer เจาคุณทหารลาดกระบัง Programming - Information Storage and Retrieval - 21 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 21. อ. เจริญ วงษชุมเย็น 22. อ. วัจนพงศ เกษมศิริ คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา วศ.บ. (เกียรตินิยม) 1. งานวิจัย - VLSI Design วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Computer System Design เจาคุณทหารลาดกระบัง - Microcontroller Application - Digital System Design วศ.ม. - Embedded System วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 2. ตําราเรียน เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน - Advance Digital System Design - Microprocessor and Interfacing - Computer Organization and Assembly Language - Micro Robot Development วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1. งานวิจัย - Pattern Recognition 2. ตําราเรียน - วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 3. ภาระงานสอน - Network Programming เจาคุณทหารลาดกระบัง - Principle of Computer Programming - Digital Circuit and Logic Design - 22 - ลําดับ 23. ชื่อ – นามสกุล อ. ชมพูนุท จินจาคาม คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ วศ.บ. 1. งานวิจัย อิเล็กทรอนิกส - Digital Image Processing สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Stereo Compression เจาคุณทหารลาดกระบัง - Artificial Intelligence วศ.ม. 2. ตําราเรียน อิเล็กทรอนิกส สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน - Principle of Computer Programming 24. อ. เกียรติณรงค ทองประเสริฐ 1. งานวิจัย วศ.บ. วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Artificial Intelligence สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Information Retrieval เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 3. ภาระงานสอน เจาคุณทหารลาดกระบัง - Principle of Computer Programming - 23 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 25. อ. ธนัญชัย ตรีภาค 26. อ. จิระศักดิ์ สิทธิกร คุณวุฒิ สาขาวิชา ผลงานทางวิชาการ สถานศึกษา 1. งานวิจัย วศ.บ. (เกียรตินิยม) - Computer Networks วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Network Security เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 3. ภาระงานสอน เจาคุณทหารลาดกระบัง - Network Security - Principle of Computer Programming - Digital Circuit and Logic Design วศ.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 1. งานวิจัย - Image Processing - Computer Network วศ.ม. 2. ตําราเรียน วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ภาระงานสอน - Introduction to Local and Wide Area Networks - Image Processing - 24 - ลําดับ ชื่อ – นามสกุล 27. อ. อัครเดช วัชระภูพงษ คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ วศ.บ. 1. งานวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร - Computer Networks สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา - Computer Security เจาคุณทหารลาดกระบัง 2. ตําราเรียน 3. ภาระงานสอน - - 25 - 13. จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา ชั้นปที่ 1 ชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 ชั้นปที่ 4 รวม คาดวาจะสําเร็จการศึกษา 2552 120 120 - ปการศึกษา 2553 2554 2555 2556 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 120 240 360 480 480 120 120 14. สถานที่และอุปกรณการสอน 14.1 สถานที่ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14 14.2 อุปกรณการสอน 14.2.1 อุปกรณที่มีอยูแลว  เครื่องระดับมินิคอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการยูนกิ ซ จํานวน 2 เครื่อง  เครื่องคอมพิวเตอรแมขายทีใ่ ชระบบปฏิบัติการตระกูลวินโดวสและตระกูลยูนิกซ จํานวน 4 เครื่อง  เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย จํานวน 200 เครื่อง  ชุดฝกการทดลองดิจิตอลโดยใชเทคโนโลยี FPGA จํานวน 60 ชุด  ชุดฝกการเชื่อมตอดวยไมโครโพรเซสเซอร จํานวน 40 ชุด  ชุดฝกการทดลองการสื่อสารขอมูล จํานวน 20 ชุด  ชุดฝกการทดลองเครือขายคอมพิวเตอร จํานวน 20 ชุด 22 14.2.1 อุปกรณที่ตองการในอนาคต  เครื่องแมขายคอมพิวเตอร  เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย  ชุดฝกการทดลองเครือขายคอมพิวเตอรขั้นสูง - 26 - 15. หองสมุด 15.1 จํานวนทรัพยากรสารนิเทศ ของสํานักหอสมุดกลางและหองสมุดคณะ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15 สถิติจํานวนทรัพยากรสารนิเทศ ชื่อหองสมุด 1.สํานักหอสมุดกลาง 2.หองสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร 3.หองสมุดคณะสถาปตยกรรม ศาสตร 4.หองสมุดคณะ เทคโนโลยีการเกษตร 5.หองสมุดคณะวิทยาศาสตร 6.หองสมุดคณะครุศาสตร อุตสาหกรรม 7.หองสมุดคณะเทคโนโลย สารสนเทศ 8.หองสมุดวิทยาเขตชุมพร รวม จํานวนหนังสือปจจุบัน (เลม) จํานวนวารสาร จํานวนวารสาร (ชื่อเรื่อง) เย็บเลม (เลม) จํานวน หนังสือพิมพ (ชื่อเรื่อง) จํานวนโสตทัศนวัสดุ (มวน,แผน, ตลับ) วีดีโอ ซีดี เทป เทป รอม คาสเซ็ท 2868 12463 1391 417 - ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ 81912 23037 50464 30051 1380 38 299 156 3258 449 4118 5066 18 11 2 2 16388 22584 91 72 401 12778 9 2 17 10 - 23215 9943 252 144 1967 2598 7 1 36 - - 7357 19683 107 201 133 1347 6 1 - - - 30549 11881 261 86 771 345 8 1 - - - 4630 4327 79 15 238 59 6 1 17 343 - 8485 195573 2659 151592 13 2221 973 7217 26311 4 69 1 11 3355 12816 1391 ขอมูล ณ เดือน สิงหาคม 2551 15.2 รายชื่อฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสของหองสมุดกลางมีใหบริการ ลําดับที่ ชื่อฐานขอมูล ขอบเขตของเนื้อหา 1. AIP/APS Journal ครอบคลุมสาขาวิชาฟสิกส (Physics) AIP : American Institute of Physics APS : American Physical Society 2. ASCE : American Society of Civil Engineers ครอบคลุมสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) 3. ASME Online 2008 ครอบคลุมสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering) - 27 - ลําดับที่ ชื่อฐานขอมูล 4. ASTM International Standards and ASTM Journal 5. Blackwell Synergy 6. CAB Abstracts on CAB Direct Plus Fulltext 7. CABI Primary Journal Online 2008 8. Knovel E-book 9. AAAS : Science Online & ScienceNow 10. Access Science (Mcgraw-Hill's) ขอบเขตของเนื้อหา ฐานขอมูลมาตรฐานครอบคลุมเนื้อหา Cement & Concrete, Iron and Steel Products, Construction, Electrical Insulation and Electronics, Textiles, Petroleum Products, Lubricants, and Fossil Fuels, Plastics, Rubber, Medical Devices and Implants เปนตน ครอบคลุมสาขาวิชา Agricultural and Animal Sciences, Business, Economics, Finance, Accounting, Mathematics and Statistics, Engineering, Computing and Technology, Health Science, Humanities, Law, Life and Physical Sciences, Medicine, Social and Behavioral Science, The Arts ครอบคลุมเนื้อหาดานวิทยาศาสตรชีวภาพ รวมถึง วิชาการเกษตร ปาไม การเพาะพันธุพืช วิศวกรรม เกษตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร สัตว แพทย กีฎวิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ และ เศรษฐศาสตรการเกษตร ครอบคลุมสาขาวิชา Nutrition Science & Life Sciences ครอบคลุมสาขาวิชาการยึดติด, เครื่องหุมหอ, วัตถุ กันรั่วและหมึก, เทคโนโลยีเรดาหและการบิน, ชีวเคมี ชีววิทยา, เทคโนโลยีชีวภาพ, วิศวกรรมเซรามิก, เคมี และวิศวกรรมเคมี, วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมไฟฟา และพลังงาน, วิศวกรรมสิ่งแวดลอม, วิทยาการ อาหาร, วิศวกรรมเครื่องกล, โลหะ, เภสัช, เครื่องสําอาง, พลาสติกและยาง, ความปลอดภัย, สุขภาพและอนามัย, สิ่งทอ ครอบคลุมเนื้อหาดาน Science & Policy, Medicine, Diseases, Chemistry, Geophysic/Geochemistry, Physics วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - 28 - ลําดับที่ ชื่อฐานขอมูล 11. ACS Online + ACS New Titles 12. ACS Legacy Archives 13. Annual Reviews 14. Cambridge Journals Online 15. Project Euclid Prime 16. Proquest Agriculture Journals 17. SIAM e - Journals 18. Springer e - Books Year 2007 Collection 19. Testing and Education Reference Center With Careers ขอบเขตของเนื้อหา ครอบคลุมสาขาวิชาเคมีประยุกต/วิศวเคมี, ชีวเคมี/ เทคโนโลยีชีวภาพ, เคมี, เคมีอินทรีย, เภสัชศาสตร, พอลิเมอรและวัสดุศาสตร ครอบคลุมสาขาวิชาเคมีประยุกต/วิศวเคมี, ชีวเคมี/ เทคโนโลยีชีวภาพ, เคมี, เคมีอินทรีย, เภสัชศาสตร, พอลิเมอรและวัสดุศาสตร ครอบคลุมสาขาวิชา Biomedical, Physical Science และ Social Science ครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร สังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร ครอบคลุมสาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต, วิทยาการ คอมพิวเตอร, ตรรกศาสตร, คณิตศาสตรเชิงฟสิกส, คณิตศาสตร, สถิติ และความเปนไปได ครอบคลุมสาขาวิชาการเกษตรและสาขาวิชาที่ เกี่ยวของ เชน สัตวศาสตร, พืชศาสตร, ปาไม, การ ประมง, เศรษฐศาสตรการเกษตร, อาหารและ โภชนาการ ครอบคลุมสาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต, และ วิทยาศาสตรการคํานวณ ครอบคลุมสาขาวิชา Architecture Designe and Art, Business and Economics, Computer Science, Engineering, Biomedical and Life Science, Behavioral Sciences, Chemistry & Material Science, Earth & Environmental Science, Humanities, Social Science & Law, Medicine, Physics & Astronomy เปนฐานขอมูลที่จัดเตรียมประมวลผลขอสอบและ หนังสืออิเล็กทรอนิกสเกี่ยวกับวิชาชีพตางๆ ขอสอบ วัดความรูภาษาอังกฤษ เชน TOEFL, TOEIC, GMAT, SAT, NCLEX เปนตน ใหกับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจ รวมถึงการสืบคน รายชื่อ และรายละเอียดของสถานศึกษาใน ตางประเทศ และแหลงทุนการศึกษา - 29 - ลําดับที่ ชื่อฐานขอมูล 20. Morgan & Claypool 21. E-Book (หนังสือภาษาไทย) 22. NEWSCenter (นิวสเซ็นเตอร) 23. iqNewsClip (ไอคิวนิวสคลิป) ขอบเขตของเนื้อหา เปนฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกสสาขาวิชา วิศวกรรมและสาขาที่เกี่ยวของรวบรวมจากหนังสือ จํานวน 100 รายชื่อ เปนฐานขอมูลหนังสือภาษาไทยหมวดตางๆ คือ กฎหมาย, การศึกษาภาษาศาสตรและวรรณคดี, การเกษตรและชีววิทยา, การเมืองการปกครอง, กีฬา ทองเที่ยว สุขภาพและอาหาร, คอมพิวเตอร, ธุรกิจ เศรษฐศาสตรและการจัดการ, ประวัติศาสตรและ อัตชีวประวัติ, วิทยาศาสตร, ศาสนาและปรัชญา, ศิลปะและวัฒนธรรม, เทคโนโลยี วิศวกรรม อุตสาหกรรม นวนิยาย นิทาน, รวมทั้งหมวดทั่วไปจากหนังสือ จํานวน 569 เลมครอบคลุมขอมูลขาวสารทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เชน ขาวจากหนังสือพิมพ และนิตยสาร ขาวจากสํานักขาว ขอมูลอางอิงจาก หนวยงานราชการตาง ๆ มติคณะรัฐมนตรี ขอมูล ดานการเงิน การลงทุนและบทวิเคราะห บริการกฤตภาคออนไลน 24. Matichon e-Library บริการกฤตภาคออนไลน 25. Academic Search Elite 26. ACM Digital Library 27. Dissertation Abstract Online 28. H.W. Wilson ครอบคลุมสาขาวิชา Computer Sciences, Engineering, ครอบคลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร และเทคโนโลยี สารสนเทศ เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปริญญาโท, เอก จากประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา รวมยุโรป ออสเตรเลีย เอเชีย และแอฟริกา มากกวา 1,000 แหง ครอบคลุมสาขาวิชา Applied Science & Technology, Art, Business, Education, General, Science, Humanities, Library and Information Science, Social Science, Law, General Interest และ Biological & Agricultural Science - 30 - ลําดับที่ 29. IEEE ชื่อฐานขอมูล 30. ISI Web of Science 31. LEXIS, NEXIS - LEXIS - NEXIS 32. Springer Link 33. Science Direct 34. E-BOOK DAO Fulltext ขอบเขตของเนื้อหา ครอบคลุมสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา, วิทยาการ คอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส และสาขาวิชาที่ เกี่ยวของ ครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร, มนุษยศาสตร, สังคมศาสตร ครอบคลุมสาขาวิชาดานกฎหมายและสาขาวิชาที่ เกี่ยวของทั้งในประเทศอเมริกา, ยุโรป, ฝรั่งเศส, อังกฤษ, มาเลเซีย, สิงคโปร, บรูไน เปนฐานขอมูลรวบรวมขาวสารจากหนังสือพิมพ ทองถิ่น ระดับชาติและแหลงธุรกิจที่สําคัญจาก ประเทศสหรัฐอเมริกาและอื่นๆ ทั่วโลก เชน Bangkok Post, The Nation, CNN, BBC, Singapore Straits Time ครอบคลุมสาขาวิชาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และทางการแพทยรวมถึงสาขาวิชา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร เชน Behavioral Science, Computer Science, Biomedical and Life Science, Business and Economics, Mathematics and Statistics, Chemistry and Materials Science, Medicine, Chinese Library of Science, Russian Library of Science, Humanities, Social Science and Law, Physics and Astronomy, Earth and Environmental Sciences, Engineering ครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและสาขาวิชาที่ เกี่ยวของ ฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปริญญาโทและปริญญา เอกของสถาบันการศึกษาที่ไดรับการรับรองจาก ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา รวมถึง สถาบันการศึกษาจากทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา มากกวา 1,000 แหง จากทุกสาขาวิชา - 31 - ลําดับที่ ชื่อฐานขอมูล 35. E-BOOK NetLibrary 36. E-BOOK Springer 37. Thai Digital Collection 38. KMITL Undergraduate Thesis Online ขอบเขตของเนื้อหา ครอบคลุมทุกสาขาวิชา มีหนังสืออิเล็กทรอนิกส ทั้งหมด 8,561 ซึ่งเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดซื้อ 5,962 ชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาดานวิทยาศาสตร (Scientific), เทคนิค (Technical) และการแพทย (Medical) จํานวน 1,359 ชื่อ บริการสืบคนฐานขอมูลฉบับเต็ม ซึ่งเปนเอกสารฉบับ เต็มของ วิทยานิพนธ รายงานการวิจัยของอาจารย รวบรวมจากมหาวิทยาลัยตางๆ ทั่วประเทศ บริการฐานขอมูลปริญญานิพนธระดับปริญญาตรี ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง - 32 - 16. งบประมาณ ใชงบประมาณแผนดิน หมวดคาวัสดุ คาใชสอย คาตอบแทน และครุภัณฑการศึกษาของคณะ วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร นี้ ประมาณ 60,000 บาท/คน/ป 16 17. หลักสูตร 17 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 32 139 หนวยกิต 17.2 โครงสรางของหลักสูตร 33 ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ก.1 กลุม วิชาสังคมศาสตร ก.2 กลุม วิชามนุษยศาสตร ก.3 กลุม วิชาภาษาอังกฤษ ก.4 กลุม วิชาวิทยาศาสตรกบั คณิตศาสตร ข. หมวดวิชาเฉพาะ ข.1 กลุมวิชาวิศวกรรมพืน้ ฐาน ข.2 กลุมวิชาบังคับ ข.3 กลุมวิชาการศึกษาทางเลือก ข.4 กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 30 หนวยกิต 6 หนวยกิต 6 หนวยกิต 12 หนวยกิต 6 หนวยกิต 103 หนวยกิต 30 หนวยกิต 52 หนวยกิต 6 หนวยกิต 15 หนวยกิต 6 หนวยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รวมตลอดหลักสูตร 139 หนวยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 33 - 17.3 รายวิชา ก, หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 34 หมายเหตุ ในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป นักศึกษาสามารถเลือกเรียนตามรายวิชาที่สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังเปดสอน (ตามระบุในภาคผนวก ค) โดยในกลุม วิชา วิทยาศาสตรกบั คณิตศาสตร นักศึกษาตองเรียนวิชา คอมพิวเตอรและการโปรแกรม จํานวน 3 หนวยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ ข.1 กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน 01006001 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 ENGINEERING MATHEMATICS 1 01006002 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 ENGINEERING MATHEMATICS 2 01006003 คณิตศาสตรวิศวกรรม 3 ENGINEERING MATHEMATICS 3 01006009 เขียนแบบวิศวกรรม ENGINEERING DRAWING 01006010 กลศาสตรวิศวกรรม ENGINEERING MECHANICS 01006011 วัสดุวิศวกรรม ENGINEERING MATERIALS 05100193 เคมีทั่วไป GENERAL CHEMISTRY 05100194 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป PRACTICES IN GENERAL CHEMISTRY 05300121 ฟสิกสทั่วไป 1 GENERAL PHYSICS 1 05300122 ปฏิบัติการฟสกิ สทั่วไป 1 103 หนวยกิต 30 หนวยกิต 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-2-7) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) - 34 - GENERAL PHYSICS LABORATORY 1 05300123 ฟสิกสทั่วไป 2 GENERAL PHYSICS 2 05300124 ปฏิบัติการฟสกิ สทั่วไป 2 GENERAL PHYSICS LABORATORY 2 01006004 การฝกงานอุตสาหกรรม INDUSTRIAL TRAINING ข.2 กลุมวิชาบังคับ 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 0 (0-300-0) 52 หนวยกิต 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN 01076203 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล DIGITAL CIRCUIT LABORATORY 01076204 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐานสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร BASIC ELECTRONICS FOR COMPUTER ENGINEERING 01076205 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร COMPUTER ENGINEERING LABORATORY 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม DATA STRUCTURE AND ALGORITHM 01076207 การสื่อสารขอมูล DATA COMMUNICATION 01076208 ปฏิบัติการสื่อสารขอมูล DATA COMMUNICATION LABORATORY 01076209 องคประกอบคอมพิวเตอรและภาษาแอสเซมบลี COMPUTER ORGANIZATION AND ASSEMBLY LANGUAGE 01076210 ปฏิบัติการภาษาแอสเซมบลี ASSEMBLY LANGUAGE LABORATORY 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร 3 (3-2-7) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) - 35 - 01076212 01076213 01076214 01076215 01076216 01076217 01076218 01076219 01076220 01076221 01076222 SOFTWARE ENGINEERING สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) COMPUTER ARCHITECTURE เครือขายคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) COMPUTER NETWORKS 3 (3-0-6) ระบบฐานขอมูล DATABASE SYSTEMS 3 (3-0-6) การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลขั้นสูง 1 (0-3-0) ADVANCED DIGITAL SYSTEM LABORATORY ทฤษฎีการคํานวณ 3 (3-0-6) THEORY OF COMPUTATION 3 (3-0-6) ระบบปฏิบัติการ OPERATING SYSTEMS 3 (3-0-6) การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 1 (0-3-0) INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN LABORATORY 3 (3-0-6) ระบบเครือขายแบบทีซพี ีไอพี TCP/IP NETWORKS 1 (0-3-0) ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี TCP/IP NETWORKS LABORATORY ข.3 กลุมวิชาการศึกษาทางเลือก 6 หนวยกิต วิชาการศึกษาทางเลือกจะแบงออกเปน 3 แนวทาง เพือ่ ใหนักศึกษาไดเลือกแนวทางการศึกษาที่ เหมาะสมสําหรับตนเอง 1 แนวทาง จํานวน 6 หนวยกิต 1. โครงงานพิเศษ จะประกอบไปดวย 1 (0-3-0) 01076301 โครงงาน 1 PROJECT 1 - 36 - 01076302 โครงงาน 2 2 (0-6-0) PROJECT 2 0107xxxx วิชาที่อาจารยที่ปรึกษากําหนดให 3 (3-0-6) ASSIGNED COURSE 6 (3-9-6) รวม หมายเหตุ รายวิชาที่อาจารยที่ปรึกษากําหนดจะเปนรายวิชาที่เกี่ยวของกับการทําโครงงาน ใหเลือกเรียนจากกลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา 2. สหกิจศึกษา 01076303 สหกิจศึกษา CO-ORPERATIVE EDUCATION รวม 6 (0-270-0) 6 (0-270-0) 3. การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ การศึกษาทางเลือกนี้แบงเปน 2 แนวทาง คือ การศึกษาตางประเทศ หรือการปฏิบัติการฝกงาน ตางประเทศ โดยนักศึกษาจะตองเลือกแนวทางใดแนวทางหนึง่ ดังนี้ 1. การศึกษาตางประเทศ นักศึกษาที่เลือกเรียนการศึกษาตางประเทศ สามารถดําเนินการเทียบโอนหนวยกิตจากสถาบันที่ ศึกษาในตางประเทศไดตามประกาศของสถาบันฯ ไมเกิน 9 หนวยกิต หรือ 2. การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ 6 (0-270-0) 01076304 การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ OVERSEA TRAINING 6 (0-270-0) รวม ข.4 กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา กลุมวิชาเลือกสาขาฮารดแวร 01076401 ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน MICROPROCESSOR AND INTERFACING 01076402 ปฏิบัติการเชื่อมตอใชงานไมโครโพรเซสเซอร 15 หนวยกิต 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) - 37 - 01076403 01076404 01076405 01076406 01076407 01076408 01076409 01076410 MICROPROCESSOR INTERFACING LABORATORY การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT ปฏิบัติการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT LABORATORY สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง ADVANCED COMPUTER ARCHITECTURE การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมากเบือ้ งตน BASIC VLSI DESIGN หุนยนตเบื้องตน INTRODUCTION TO ROBOTICS การพัฒนาหุน ยนตขนาดเล็ก MICRO ROBOT DEVELOPMENT ระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง HIGH PERFORMANCE COMPUTING ระบบสมองกลฝงตัว EMBEDDED SYSTEMS กลุมวิชาเลือกสาขาซอฟตแวร 01076501 การออกแบบและวิเคราะหอัลกอริธึม DESIGN AND ANALYSIS OF ALGORITHM 01076502 การพัฒนาซอฟตแวรระบบ SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT 01076503 ปฏิบัติการพัฒนาซอฟตแวรระบบ SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT LABORATORY 01076504 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ UNIX SYSTEM PROGRAMMING 01076505 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ UNIX SYSTEM PROGRAMMING LABORATORY 01076506 การออกแบบและสรางระบบปฏิบัติการ DESIGN AND IMPLEMENTATION OF OPERATING SYSTEM 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (1-6-5) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) - 38 - 01076507 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา 3 (3-0-6) JAVA PROGRAMMING 01076508 ปฏิบัติการภาษาจาวา 1 (0-3-0) JAVA PROGRAMMING LABORATORY 3 (3-0-6) 01076509 เทคโนโลยีภาษาจาวา JAVA TECHNOLOGY 01076510 ปฏิบัติการเทคโนโลยีภาษาจาวา 1 (0-3-0) JAVA TECHNOLOGY LABORATORY 01076511 ปญญาประดิษฐ 3 (3-0-6) ARTIFICIAL INTELLIGENCE 01076512 แนวคิดภาษาคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) PROGRAMMING LANGUAGE CONCEPT 3 (3-0-6) 01076513 การสรางคอมไพเลอร COMPILER CONSTRUCTION 1 (0-3-0) 01076514 ปฏิบัติการสรางคอมไพเลอร COMPILER CONSTRUCTION LABORATORY 01076515 การออกแบบเกม 3 (3-0-6) GAME DESIGN 3 (3-0-6) 01076516 การวิเคราะหสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอรเบื้องตน INTRODUCTION TO COMPUTER SYSTEM PERFORMANCE ANALYSIS 3 (3-0-6) 01076517 ระบบคอมพิวเตอรที่ทนตอความผิดพลาด FAULT TOLERANT COMPUTING 01076518 ระบบคอมพิวเตอรแบบกระจาย 3 (3-0-6) DISTRIBUTED COMPUTING 01076519 อัลกอริธึมแบบขนาน 3 (3-0-6) PARALLEL ALGORITHM 01076520 ระบบฐานขอมูลขั้นสูง 3 (3-0-6) ADVANCED DATABASE SYSTEMS 01076521 วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงวัตถุ 3 (3-0-6) OBJECT ORIENTED SOFTWARE ENGINEERING 01076522 วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงคณิตศาสตร 3 (3-0-6) - 39 - 01076523 01076524 01076525 01076526 01076527 01076528 01076529 01076530 01076531 01076532 01076533 01076534 01076535 01076536 01076537 MATHEMATICAL SOFTWARE ENGINEERING ระบบเชิงวัตถุแบบกระจาย DISTRIBUTED OBJECT SYSTEM การพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต COMPONENT BASED SOFTWARE DEVELOPMENT ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MANAGEMENT INFORMATION SYSTEMS การจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ INFORMATION STORAGE AND RETRIEVAL เหมืองขอมูล DATA MINING การประมวลผลสัญญาณเชิงเลข DIGITAL SIGNAL PROCESSING การประมวลผลภาพ IMAGE PROCESSING การบีบขอมูลและสัญญาณ DATA AND SIGNAL COMPRESSION ระบบสื่อผสม MULTIMEDIA SYSTEMS การเรียนรูของเครื่อง MACHINE LEARNING ระบบผูเชี่ยวชาญ EXPERT SYSTEM การรูจํารูปแบบ PATTERN RECOGNITION การรูจําเสียงพูด SPEECH RECOGNITION คอมพิวเตอรกราฟกส COMPUTER GRAPHICS หลักทฤษฎีของปญญาประดิษฐ THEORETICAL ASPECTS OF ARTIFICIAL INTELLIGENCE 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) - 40 - 01076538 ปญญาประดิษฐประยุกต APPLIED ARTIFICIAL INTELLIGENCE 01076539 การจําลองระบบดวยคอมพิวเตอร COMPUTER SIMULATION 01076540 ทัศนศาสตรคอมพิวเตอร COMPUTER VISION 01076541 เว็บเทคโนโลยี WEB TECHNOLOGY 01076542 การเขียนโปรแกรมเครือขาย NETWORK PROGRAMMING 01076543 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเครือขาย NETWORK PROGRAMMING LABORATORY 01076544 การเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต INTERNET PROGRAMMING 01076545 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต INTERNET PROGRAMMING LABORATORY 01076546 การโปรแกรมเว็บเซอรวิสส WEB SERVICES PROGRAMMING 01076547 การออกแบบการสื่อสารกับมนุษย HUMAN COMPUTER INTERACTION 01076548 เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ELECTRONIC BUSINESS TECHNOLOGY 01076549 สถาปตยกรรมซอฟตแวรระดับองคกร ENTERPRISE SOFTWARE ARCHITECTURE 01076550 หลักการของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร FOUNDATION OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEMS 01076551 การจัดการดานการบริการของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ IT SERVICE MANAGEMENT 01076552 ความปลอดภัยของสารสนเทศ INFORMATION SECURITY 01076553 การวิจยั ดําเนินงาน 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) - 41 - OPERATION RESEARCH 01076554 กฏหมายและจริยธรรมสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอร LAW AND ETHICS IN COMPUTER ENGINEER 3 (3-0-6) กลุมวิชาเลือกสาขาเครือขาย 01076601 เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน 3 (3-0-6) INTRODUCTION TO LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS 1 (0-3-0) 01076602 ปฏิบัติการเครือขายทองถิน่ และเครือขายแบบกวาง LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS LABORATORY 3 (3-0-6) 01076603 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซขนั้ สูง ADVANCED UNIX PROGRAMMING 01076604 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซขั้นสูง 1 (0-3-0) ADVANCED UNIX PROGRAMMING LABORATORY 01076605 เทคโนโลยีอนิ เตอรเน็ต 3 (3-0-6) INTERNET TECHNOLOGY 01076606 การประมวลผลบนอุปกรณพกพาและการสื่อสารไรสาย 3 (3-0-6) MOBILE COMPUTING AND WIRELESS COMMUNICATION 3 (3-0-6) 01076607 เครือขายโทรคมนาคม TELECOMMUNICATION NETWORKS 01076608 การออกแบบระบบเครือขายแบบกวาง 3 (3-0-6) WIDE AREA NETWORKS DESIGN 01076609 การออกแบบเครือขายในองคกร 3 (3-0-6) CAMPUS NETWORK DESIGN 01076610 ปฏิบัติการดูแลและบริหารระบบเครือขาย 1 (0-3-0) NETWORK ADMINISTRATOR AND MANAGEMENT LABORATORY 01076611 ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) COMPUTER SECURITY 01076612 ความปลอดภัยในระบบเครือขาย 3 (3-0-6) NETWORK SECURITY 01076613 ปฏิบัติการความปลอดภัยในระบบเครือขาย 1 (0-3-0) NETWORK SECURITY LABORATORY - 42 - 01076614 การจัดการศูนยขอมูล DATA CENTER MANAGEMENT ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 (3-0-6) 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนวิชาที่เปดสอนในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง จํานวน 6 หนวยกิต - 43 - 17.4 ความหมายของรหัสประจํารายวิชา รหัสวิชาที่ใชกาํ หนดเปนตัวเลข 8 หลัก ดังตอไปนี้ 00 หมายถึง วิชากลางของคณะวิศวกรรมศาสตร รหัสหลักที่ 1, 2 ไดแกเลข 01 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร 05 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร 90 หมายถึง วิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป รหัสหลักที่ 3, 4 ไดแกเลข 07 หมายถึง วิชาในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร รหัสหลักที่ 5 ไดแกเลข 6 หมายถึง หลักสูตรในระดับปริญญาตรี รหัสหลักที่ 6,7,8 หมายถึง ลําดับที่ของวิชา - 44 - 17.5 แผนการศึกษา 35 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01006001 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 ENGINEERING MATHEMATICS 1 3 (3-0-6) 05300121 ฟสิกสทั่วไป 1 GENERAL PHYSICS 1 05300122 ปฏิบัติการฟสกิ สทั่วไป 1 1 (0-3-0) GENERAL PHYSICS LABORATORY 1 05100193 เคมีทั่วไป 3 (3-0-6) GENERAL CHEMISTRY 1 (0-3-0) 05100194 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป PRACTICES IN GENERAL CHEMISTRY 3 (3-2-7) 01006009 เขียนแบบวิศวกรรม ENGINEERING DRAWING 90102003 คอมพิวเตอรและการโปรแกรม 3 (3-2-7) COMPUTER AND PROGRAMMING 3 (3-0-6) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชาภาษาอังกฤษ) GENERAL EDUCATION (ENGLISH) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 20 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 45 - ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01006002 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 ENGINEERING MATHEMATICS 2 3 (3-0-6) 05300123 ฟสิกสทั่วไป 2 GENERAL PHYSICS 2 05300124 ปฏิบัติการฟสกิ สทั่วไป 2 1 (0-3-0) GENERAL PHYSICS LABORATORY 2 01006010 กลศาสตรวิศวกรรม 3 (3-0-6) ENGINEERING MECHANICS 3 (3-0-6) 01006011 วัสดุวิศวกรรม ENGINEERING MATERIALS 3 (3-0-6) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชาภาษาอังกฤษ) GENERAL EDUCATION (ENGLISH) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชามนุษยศาสตรหรือสังคมศาสตร) 3 (3-0-6) GENERAL EDUCATION (HUMANITY OR SOCIAL SCIENCE) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 19 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 46 - ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01006003 คณิตศาสตรวิศวกรรม 3 ENGINEERING MATHEMATICS 3 3 (3-2-7) 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3 (3-0-6) DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN 01076203 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล 1 (0-3-0) DIGITAL CIRCUIT LABORATORY 3 (3-0-6) 01076204 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐานสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร BASIC ELECTRONICS FOR COMPUTER ENGINEERING 01076205 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 (0-3-0) COMPUTER ENGINEERING LABORATORY 3 (3-0-6) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชาภาษาอังกฤษ) GENERAL EDUCATION (ENGLISH) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชามนุษยศาสตรหรือสังคมศาสตร) 3 (3-0-6) GENERAL EDUCATION (HUMANITY OR SOCIAL SCIENCE) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 20 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 47 - ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม DATA STRUCTURE AND ALGORITHM 3 (3-0-6) 01076207 การสื่อสารขอมูล DATA COMMUNICATION 01076208 ปฏิบัติการสื่อสารขอมูล 1 (0-3-0) DATA COMMUNICATION LABORATORY 01076209 องคประกอบคอมพิวเตอรและภาษาแอสเซมบลี 3 (3-0-6) COMPUTER ORGANIZATION AND ASSEMBLY LANGUAGE 1 (0-3-0) 01076210 ปฏิบัติการภาษาแอสเซมบลี ASSEMBLY LANGUAGE LABORATORY 3 (3-0-6) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชาภาษาอังกฤษ) GENERAL EDUCATION (ENGLISH) 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชาวิทยาศาสตรกบั คณิตศาสตร) 3 (3-0-6) GENERAL EDUCATION (SCIENCE AND MATHEMATICS) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 17 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 48 - ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร SOFTWARE ENGINEERING 3 (3-0-6) 01076212 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร COMPUTER ARCHITECTURE 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) COMPUTER NETWORK 01076214 ระบบฐานขอมูล 3 (3-0-6) DATABASE SYSTEMS 3 (3-0-6) 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN 1 (0-3-0) 01076216 ปฏิบัติการระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM LABORATORY 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชามนุษยศาสตรหรือสังคมศาสตร) 3 (3-0-6) GENERAL EDUCATION (HUMANITY OR SOCIAL SCIENCE) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 19 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 49 - ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 01076217 ทฤษฎีการคํานวณ THEORY OF COMPUTATION 3 (3-0-6) 01076218 ระบบปฏิบัติการ OPERATING SYSTEMS 01076219 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 3 (3-0-6) INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN 01076220 ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 1 (0-3-0) INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN LABORATORY 3 (3-0-6) 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซพี ีไอพี TCP/IP NETWORKS 1 (0-3-0) 01076222 ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี TCP/IP NETWORKS LABORATORY 90xxxxxx วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป (กลุมวิชามนุษยศาสตรหรือสังคมศาสตร) 3 (3-0-6) GENERAL EDUCATION (HUMANITY OR SOCIAL SCIENCE) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 17 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ปที่ 3 ภาคฤดูรอน 01006004 การฝกงานอุตสาหกรรม INDUSTRIAL TRAINING 0 (0-300-0) หมายเหตุ การฝกงานอุตสาหกรรมเฉพาะนักศึกษาที่เลือกเรียน โครงงานพิเศษ เทานัน้ - 50 - ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 สําหรับนักศึกษาเลือกเรียน โครงงานพิเศษ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1 (0-3-0) 01076301 โครงงาน 1 PROJECT 1 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาที่อาจารยที่ปรึกษากําหนดให ASSIGNED COURSE 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี FREE ELECTIVE COURSE -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 13 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 51 - ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 สําหรับนักศึกษาเลือกเรียน สหกิจศึกษา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------6 (0-270-0) 01076303 สหกิจศึกษา CO-OPERATIVE EDUCATION -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 6 (0-270-0) หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 สําหรับนักศึกษาเลือกเรียน การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------6 (x-x-x) xxxxxxxx วิชาที่เทียบโอนหนวยกิตจากสถาบันการศึกษาในตางประเทศ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 6 (x-x-x) หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หรือ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------01076304 การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ 6 (0-270-0) OVERSEA TRAINING -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 6 (0-270-0) หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 52 - ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 สําหรับนักศึกษาเลือกเรียน โครงงานพิเศษ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2 (0-6-0) 01076302 โครงงาน 2 PROJECT 2 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี FREE ELECTIVE COURSE -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 14 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- - 53 - ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 สําหรับนักศึกษาเลือกเรียน สหกิจศึกษา และ การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อวิชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) 0107xxxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร ELECTIVE COURSE IN COMPUTER ENGINEERING 3 (3-0-6) xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี FREE ELECTIVE COURSE 3 (3-0-6) xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี FREE ELECTIVE COURSE -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รวม 21 หนวยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หมายเหตุ ตามแผนการศึกษาของชัน้ ปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 นักศึกษาสามารถนําวิชาตางๆ ในภาคเรียนที่ 1 ไปลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 และสามารถนําวิชาตางๆ ในภาคเรียนที่ 2 ไปลงทะเบียน เรียนในภาคเรียนที่ 1 ได (การลงทะเบียนเรียนในชัน้ ปที่ 4 ใหลงทะเบียนเรียนใหครบตามแผนการศึกษา) - 54 - 17.6 คําอธิบายรายวิชา หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน 01006001 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 3 (3-0-6) ENGINEERING MATHEMATICS 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ลิมิต ความตอเนื่อง อนุพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และสูตร อนุพันธของฟงกชันเชิงกําลัง ฟงกชันพหุนาม ฟงกชันเลขชี้กําลัง ฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันลอการิทึม ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน และฟงกชันโดยปริยาย กฎการหาอนุพันธ กฎผลคูณ กฎผลหาร กฎลูกโซ ฯ รูปแบบยังไมกําหนด ปริพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และ สูตร ทฤษฎีพื้นฐานของแคลคูลัส ตระกูลเสนโคงแบบพาราเมตริก การหาคาเหมาะที่สุด เทคนิคของปริพันธ ปริพันธไมตรง แบบ การลูเขาและการลูออกของปริพันธ ระเบียบวิธีเชิงเลขของปริพันธ การประยุกตของปริพันธ สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน อันดับหนึ่ง อันดับสอง ที่มีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบเอกพันธ และมีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบไมเอกพันธ การ ประมาณคาของฟงกชันโดยใชพหุนามเทเลอร อุปนัยเชิงคณิตศาสตร ลําดับ อนุกรม อนุกรมเทเลอร อนุกรมกําลัง อนุกรมฟู ริเยร Limits, Continuity. Derivatives of functions defined by graphs, tables and formulas. Differentiation of power, polynomial, exponential, trigonometric, logarithmic, inverse trigonometric functions and implicit differentiation. Differentiation rules: product rule, quotient rule, chain rule, etc. Indeterminate form. Integral of functions defined by graphs, tables and formulas. Fundamental theorem of calculus. Parameterized families of curves. Optimization. Techniques of integration. Improper integrals. Convergence and divergence of integrals. Numerical methods of integration. Applications of integration. First and second order linear constant coefficient homogeneous and inhomogeneous differential equations. Approximation of functions by means of Taylor polynomials. Mathematical Induction. Sequences. Series. Taylor series. Power series. Fourier series. 3 (3-0-6) 01006002 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 ENGINEERING MATHEMATICS 2 วิชาบังคับกอน : 01006001 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 PREREQUISITE : 01006001 Engineering Mathematics 1 แคลคูลัสของฟงกชันหลายตัวแปรเบื้องตน พิกัดเชิงขั้ว การวิเคราะหฟงกชันหลายตัวแปร ฟงกชันคาเวกเตอร อนุพันธยอย และปริพันธหลายชั้น การวเคราะหเวคเตอร เทคนิคการหาคาเหมาะที่สุด สมการพาราเมตริก ปริพันธเชิงเสน ปริพันธเชิงพื้นผิว และทฤษฎีบทหลักที่เกี่ยวกับการประยุกต เชน ทฤษฎีบทของกรีน ทฤษฎีไดเวอรเจนซ ทฤษฎีบทของเกาส ทฤษฎีบทของสโตกส เปนตน ตัวแปรเชิงซอน ฟงกชันของตัวแปรเชิงซอน อนุพันธและสมการคอชี-รีมันน ปริพันธ และทฤษฎี บทปริพันธคอชี อนุกรมกําลังและอนุกรมลอเรนต ทฤษฎีบทเรซิดิว การสงคงรูปและการประยุกต อนุกรมฟูริเยร - 55 - Introduction to Multivariable Calculus. Polar coordinates. Analysis of functions of several variables, vector valued functions, partial derivatives, and multiple integrals. Vector analysis. Optimization techniques, parametric equations, line integrals, surface integrals and major theorems concerning their applications: Green’s Theorem, Divergence Theorem, Gauss Theorem, Stokes Theorem, etc. Complex Variable. Functions of a complex variable. Derivatives and Cauchy-Riemann equations. Integrals and Cauchy integral theorem. Power and Laurent Series. Residue theory. Conformal mapping and applications. Fourier series. 01006003 คณิตศาสตรวิศวกรรม 3 3 (3-0-6) ENGINEERING MATHEMATICS 3 วิชาบังคับกอน : 01006001 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 PREREQUISITE : 01006001 Engineering Mathematics 1 ระบบสมการเชิงเสนและผลเฉลย แนวคิดเกี่ยวกับเวกเตอร ปริภูมิเวกเตอร ปริภูมิผลคูณภายใน ฐาน ฐานเชิง ตั้งฉากปกติและการประยุกตในอนุกรมฟูริเยร ฯ การแปลงเชิงเสน การแปลงลาปลาซ การแปลงแซด การแปลงฟูริเยรฯ เมตริกซและตัวกําหนด รากลักษณะเฉพาะ และฟงกชันลักษณะเฉพาะ การหาสมการแบบจําลองและการหาผลเฉลยของ สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่ง เสถียรภาพของสมการ ออโตโนมัส สมการเชิงอนุพันธสามัญเชิงเสนอันดับสูง ฐานของผล เฉลย รอนสเกียน และปญหาคาเริ่มตน ระบบเชิงเสนของสมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่งซึ่งมีสัมประสิทธเปนคาคงตัว วิธีหา ผลเฉลยโดยวิธีกําจัดและวิธีหาคาลักษณะเฉพาะ ผลเฉลยเชิงเลขของปญหาคาเริ่มตนของสมการเชิงอนุพันธสามัญ สมการ ผลตางและผลเฉลยอันตะ การประยุกตทางวิศวกรรม Systems of linear equations and solutions. Introduction to vector concept: vector space, inner product space, bases, orthonormal bases and applications in Fourier series, etc. Linear transformations: Laplace transformation, z-transformation, Fourier-transformation, etc. Matrices and Determinants. Characteristic roots and eigenfunctions. First order differential equations: modeling and solving. Stability of autonomous equations. Higher order linear ordinary differential equations: Solution bases, Wronskian, and initial value problems. Linear system of first order differential equations with constant coefficients: Elimination and eigenvalue method of solution. Numerical solution of initial value problems for ordinary differential equations. Difference equations and finite difference solutions. Engineering applications. 3 (3-2-7) 01006009 เขียนแบบวิศวกรรม ENGINEERING DRAWING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE การเขียนอักษร การเขียนภาพฉายบนระนาบที่ตั้งฉากกัน การวาดภาพบนพิกัดฉาก (การเขียนภาพ 3 มิติ) การ กําหนดขนาดและคําพิกัดความเผื่อ การเขียนภาพตัด การเขียนภาพชวยและภาพแผนคลี่ การเสก็ตรางแบบ การเขียนแบบ ประกอบและภาพแยกชิ้นสวน พื้นฐานในดานการใชคอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบ - 56 - Lettering; orthographic projection; orthographic drawing and pictorial drawings; dimensioning and tolerancing; sections; auxiliary views and development; freehand sketches; detail and assembly drawings; basic computer-aided drawing 01006010 กลศาสตรวิศวกรรม 3 (3-0-6) ENGINEERING MECHANICS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ระบบของแรง แรงลัพท สมดุล สถิตยศาสตรของของไหล จลนศาสตรและจลนพลศาสตรของอนุภาคและวัตถุ เกร็ง กฎของที่ 2 ของนิวตัน งานและพลังงาน แรงดลและโมเมนตัม Force systems; resultant; equilibrium; fluid statics; Kinematics and kinetics of particles and rigid bodies; Newton’s second law of motion; work and energy, impulse and momentum 3 (3-0-6) 01006011 วัสดุวิศวกรรม ENGINEERING MATERIALS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาความสัมพันธระหวางโครงสราง คุณสมบัติ กระบวนการผลิต และการใชงานของวัสดุวิศวกรรมกลุม หลักๆ เชน โลหะ พอลิเมอร เซรามิก และวัสดุเชิงประกอบ แผนภูมิสมดุลของเฟสและการแปลความ คุณสมบัติทางกลและ การเสื่อมสภาพของวัสดุ Study of relationship between structures, properties, production processes and applications of main groups of engineering materials i.e. metals, polymers, ceramics and composites; phase equilibrium diagrams and their interpretation; mechanical properties and materials degradation. 05100193 เคมีทั่วไป 3 (3-0-6) GENERAL CHEMISTRY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE พื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและปริมาณสัมพันธ คุณสมบัติของแกซ คุณสมบัติของของแข็ง คุณสมบัติของ ของเหลว และคุณสมบัติของสารละลาย สมดุลเคมี สมดุลไอออน จลนพลศาสตรเคมี โครงสรางทางอิเล็กตรอนของอะตอม พันธะเคมี สมบัติตามตารางพีริออกดิก ธาตุเรพรีเซนทิทีฟ ธาตุโลหะและโลหะทรานซิซัน ปฏิกิริยาของกรด-เบสและปฏิกิริยา ยารีดอกซ A study of the fundamental concepts in stoichiometry and basis of the atomic theory, properties of gases, liquids, solids and solutions, chemical bonds, periodic properties, representative elements, nonmetals and transition metals, acid-base reactions and redox reactions. - 57 - 05100194 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป PRACTICES IN GENERAL CHEMISTRY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 05100193 เคมีทั่วไป The experiments relate to 05100193 General Chemistry 1 (0-3-0) 05300121 ฟสิกสทั่วไป 1 3 (3-0-6) GENERAL PHYSICS 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE เวกเตอร การเคลื่อนที่และกฏของนิวตัน สมดุลของอนุภาค สมดุลแรง สมดุลของวัตถุแข็ง จุดศูนยกลางความ โนมถวงและจุดเซนทรอยดส คลื่นและการสั่น กลศาสตรของไหล แกซอุดมคติและสารบริสุทธิ์ งานและความรอน การนํา ความรอน การพาความรอน และการแผรังสีความรอน Equilibrium of particles, equivalent system of forces, equilibrium of rigid bodies, center of gravity and centroids, vibration and wave, fluid mechanics, ideal gas and pure substance, work and heat, thermal conduction, thermal convection, thermal radiation. 05300122 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 GENERAL PHYSICS LABORATORY 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 05300121 ฟสิกสทั่วไป 1 The experiments correspond to the subject in 05300121 General Physics I 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 05300123 ฟสิกสทั่วไป 2 GENERAL PHYSICS 2 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE การหักเหและการเบี่ยงเบนทางแสง โพลาไลเซชั่น กระจก เลนส และอุปกรณทางแสง ทฤษฎีสัมพันธภาพ พิเศษ คุณสมบัติแบบอนุภาคของคลื่น คุณสมบัติแบบคลื่นของอนุภาค โครงสรางของอะตอม แบบจําลองอะตอมของบอร สมการโซรดิงเจอร ทฤษฎีควอนตัมของอะตอมไฮโดรเจน อะตอมแบบมีอิเล็กตรอนหลายตัว การวิเคราะหวงจรกระแสตรง และกระแสสลับ โครงสรางพื้นฐานของระบบอิเล็กทรอนิกส คุณสมบัติเบื้องตนของอุปกรณสารกึ่งตัวนําพื้นฐาน พื้นฐาน ไดโอด ทรานซิสเตอรชนิดสองขั้วและทรานซิสเตอรชนิดสองขั้วสนามไฟฟา การใชงานไดโอดขั้นพื้นฐาน Reflection and refraction, polarization, plane mirrors, lens and optical instrument, special relativity, the dual property of wave and particle. atom structure. bohr model. schrodinger equation. quantum theory of - 58 - hydrogen atom, multielectron atom, dc and ac circuit analysis, basic configuration of electronics systems, basic characteristics of semiconductor devices : diode, bipolar transistor and field effect transistors and basic diode applications. 05300124 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 GENERAL PHYSICS LABORATORY 2 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 05300123 ฟสิกสทั่วไป 2 The experiments relate to 05300123 General Physics 2 1 (0-3-0) 01006004 การฝกงานอุตสาหกรรม 0 (0-300-0) INDUSTRIAL TRAINING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE เปนการฝกงานภาคปฏิบัติที่จัดขึ้นตามสาขาวิชา โดยการฝกงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือบริษัทเอกชนทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเปนการเสริมสรางประสบการณ นักศึกษาทุกคนจะตองผานการฝกงานนี้ในชวงของ การศึกษาภาคฤดูรอน พรอมเขียนรายงานเสนอ During their four-year selected studies, students are required to complete a short-term industrial placement within professional environments. It takes place during a summer period. This course allows students to put into practice under conditions reflecting their future activites and responsibilities. The work, carried out under the responsibility of the firm involved, is presented in a written report. - 59 - กลุมวิชาบังคับ 3 (3-2-7) 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : 90102003 คอมพิวเตอรและการโปรแกรม PREREQUISITE : 90102003 COMPUTER AND PROGRAMMING ทบทวนการโปรแกรมภาษาซี (ชนิดตัวแปร นิพจน นิพจนพอยนเตอร อารเรย ประโยคควบคุม ฟงกชัน การ สงผานพารามิเตอร) คาคงที่ เรฟเฟอรเรนซ การกําหนดทับการกระทําเดิม คลาส การควบคุมการเขาถึงขอมูล คอนสตรัค เตอร เดสสตรัคเตอร ลําดับการทํางานของคอนสตรัคเตอรและเดสสตรัคเตอร การคัดลอกคอนสตรัคเตอร การแปลงคอน สตรัคเตอร วัตถุชั่วคราว การกําหนดทับตัวกระทํา การสืบทอด การซอนชื่อ โพลิมอรฟซึม ฟงกชันเสมือนแท โอเวอรไรดดิ้ง คลาสนามธรรม การสืบทอดจากหลายคลาส การโปรแกรมเชิงวัตถุ This course provides a review of C programming (variable types, expression, pointer expression, array, control statements, function, parameter passing), constant, reference, function overloading, class, access control, constructor & destructor and their order of execution, copy & conversion constructor, temporary object, operator overloading, inheritance, name hiding, polymorphism, pure virtual function, overriding, abstract base class, multiple inheritance and object oriented programming 3 (3-0-6) 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ทฤษฎีเบื้องตนของวงจรสวิทชิ่ง คณิตศาสตรแบบบูล ตารางความจริง การลดรูปสมการบูลลีนโดยใช แผนที่ แบบคารนอและวิธีควินแม็คคลอสกี้ แผนผังแบบเวน วงจรเกท วงจรฟลิปฟลอป วงจรนับ วงจรชิฟรีจิสเตอร การออกแบบ วงจรคอมไบเนชันและวงจรซีเควนเชียล Basic theory of switching circuit, Boolean algebra, truth table, Boolean equation reduction by Karnuaugh map and Quinmacrossky method, Wein diagram, logic gates, flip-flops, counters, shift registers, combination and sequential circuit design. 01076203 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล DIGITAL CIRCUIT LABORATORY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก The experiments related to 01076202 Digital Circuit and Logic Design 1 (0-3-0) - 60 - 01076204 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐานสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) BASIC ELECTRONICS FOR COMPUTER ENGINEERING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE วงจรไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ สัญญาณและรูปคลื่นตางๆ อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน ตางๆ เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร ออปแอมป การวิเคราะหวงจรทรานซิสเตอร เฟต วงจรขยายแบบปอนกลับ วงจรรวม เบื้องตน นิยามการวัดและระบบการวัด หนวยการวัดและมาตรฐานการวัด ความคลาดเคลื่อน อุปกรณและเครื่องมือวัดทาง ไฟฟา เซนเซอรและ ทรานดิวเซอร การออกแบบและวิเคราะหทางเครื่องมือวัดทางไฟฟา A study of DC and AC circuits, signal and waveforms, basic electronic devices and circuits such as diode, transistor, Op-Amp, transistor circuit analysis, FET, feedback amplifier, Integrated circuit, definition and system of measurement units, measurement unit and standard, deviation and deviation analysis, electrical tools and device, sensor and transducer, designing and analysis of electrical measuring device. 01076205 ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 (0-3-0) COMPUTER ENGINEERING LABORATORY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ฝกปฏิบัติการการใชงานเครื่องมือทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร อาทิเชน ระบบปฏิบัติการ ซอฟตแวรเพื่อการ พัฒนา ระบบเครือขาย วงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกส Laboratories on computer engineering tools, such as, operating systems, software development, networking, and electrical and electronics circuits 3 (3-0-6) 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชาบังคับกอน : 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง PREREQUISITE : 01076201 ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING โครงสรางขอมูลขั้นพื้นฐานและการกระทําที่เกี่ยวของ เชน อาเรย สแตก คิว ลิสต ตาราง ตนไม และ กราฟ ชนิด ขอมูลนามธรรมในภาษาชั้นสูง อัลกอริทึมแบบเรียกตัวเอง และแบบทําซ้ํา การวิเคราะหความซับซอนเชิงพื้นที่และเชิงเวลา อัลกอริทึมการเรียงลําดับและการคนหา และความซับซอนของแตละวิธี Basic data structures and their related operations such as array, stack, queue, lists, tables, trees and graphs, Abstract Data Types (ADT), iterative and recursive algorithms, space versus time tradeoffs, algorithms complexity analysis. Sorting and searching algorithms. 01076207 การสื่อสารขอมูล DATA COMMUNICATION วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3 (3-0-6) - 61 - PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN แนวคิดพื้นฐานของการสื่อสารขอมูล โมเดลโอเอสไอ ลักษณะของสัญญาณ การเขารหัสสัญญาณและการกล้ํา สัญญาณ การสงขอมูลที่เปนดิจิตอล อุปกรณเชื่อมตอ สายสัญญาณ ตัวกลางที่ใชในการสื่อสาร การมัลติเพล็กซขอมูล การ เขารหัสขอมูล การตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาดในการสงขอมูล การควบคุมการสงขอมูล การสงขอมูลสวิตชิ่งแบบตาง ๆ โพรโตคอลแบบจุดตอจุด ระบบเครือขายดิจิตอลบริการรวม (ISDN) ระบบ X.25 ระบบเฟรมรีเลย ระบบเอทีเอ็ม ระบบโซเน็ต เอสดีเอช ระบบเครือขาย และอุปกรณที่ใชในการเชื่อมตอเครือขาย Basic concepts of data communication, OSI model, signal characteristics, encoding and modulating, transmission of digital data, communication interface device, transmission line, communication media, data multiplexing, data coding, error detection and correction, data link control, switching, point-to-point protocol (PPP), integrated services digital network (ISDN), x.25, frame relay, ATM, SONET/SDH, networking and internetworking devices. 01076208 ปฏิบัติการสื่อสารขอมูล DATA COMMUNICATION LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076207 การสื่อสารขอมูล The experiments related to 01076207 Data Communication 1 (0-3-0) 01076209 องคประกอบคอมพิวเตอรและภาษาแอสเซมบลี 3 (3-0-6) COMPUTER ORGANIZATION AND ASSEMBLY LANGUAGE วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN และการเขียนโปรแกรมควบคุม ประกอบดวย เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสรางภายในของไมโครคอมพิวเตอร โครงสรางของไมโครโพรเซสเซอร รีจิสเตอร เทคโนโลยีของบัส โครงสรางและประเภทของหนวยความจําหลัก และ หนวยความจําแคช โครงสรางและประเภทของฮารดดิสก ฟลอปปดิสก อุปกรณเก็บขอมูลทางแสง โครงสรางและประเภท ของอุปกรณสํารองขอมูลแบบตาง ๆ โครงสรางและการทํางานของอุปกรณประกอบอื่น ๆ นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึง หลักการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี โหมดการอางแอดเดรส การถอดรหัสคําสั่ง กลุมคําสั่งเคลื่อนยายขอมูล กลุมคําสั่ง คณิตศาสตร กลุมคําสั่งลอจิก กลุมคําสั่งควบคุมโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบโมดูล และการเรียกใชงานฟงกชัน This course provides information on microcomputer architecture and control programming. The topics include microprocessor structure, register, bus’s technology, structure and types of main memory, cache memory, structure and types of hard disk, floppy disk, optical device, structure and types of secondary storage and other peripheral devices. This course also describes assembly language programming, addressing mode, instruction decoding, data movement instructions, arithmetic and logic instruction, program control instruction, modular programming and function call. - 62 - 01076210 ปฏิบัติการภาษาแอสเซมบลี 1 (0-3-0) ASSEMBLY LANGUAGE LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076209 องคประกอบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมแอสเซมบลี The experiments related to 01076209 Computer Organization and Assembly Language 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร 3 (3-0-6) SOFTWARE ENGINEERING วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ศึกษาสาระสําคัญในวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร วิธีการพัฒนาความตองการ และขอกําหนดของซอฟตแวร วิธีการ ออกแบบซอฟตแวรแบบดั้งเดิม และแบบเชิงวัตถุ การตรวจสอบซอฟตแวรเทียบกับความตองการ และเทียบกับขอกําหนด การยืนยันความถูกตองของซอฟตแวร การทดสอบซอฟตแวร ซอฟตแวรเมตริกซ การรับรองคุณภาพ การบริหารโครงงานและ โครงสรางทีม ตลอดจนการบํารุงรักษาซอฟตแวร และเครื่องมือที่ชวยในงานวิศวกรรมซอฟตแวร A study of software engineering principle include requirement and specifications of software, conventional and object-oriented software designing, verification of software against requirements and specifications, verification and validation, testing methods, software metrics, quality assurance, project management and team structure, software maintenance, and Computer-Aided Software Engineering tools. 01076212 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) COMPUTER ARCHITECTURE วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN สถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร และระบบยอยภายในคอมพิวเตอร เชน สถาปตยกรรมของตัว ประมวลผลและหนวยคํานวณทางคณิตศาสตร การควบคุมเสนทางของขอมูลสูหนวยประมวลผลกลาง การจัดการสงขอมูล ระดับรีจิสเตอร ระบบจัดการการติดตออุปกรณภายนอก การประมวลผลแบบขนาน หลักการออกแบบระบบฮารดแวรของ ระบบคอมพิวเตอร สถาปตยกรรมของคอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะสูง A study of computer architecture, functionality of computer components, central processing unit, arithmetic and logic unit, data path control, data transfer at register level, input/output management, principle of computer hardware design and high performance computer architectures. 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร COMPUTER NETWORKS วิชาบังคับกอน : 01076207 การสื่อสารขอมูล PREREQUISITE : 01076207 DATA COMMUNICATION 3 (3-0-6) - 63 - แนะนําภาพรวมเครือขายคอมพิวเตอร ศึกษาแบบอางอิงสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร เชน แบบอางอิงโอเอส ไอ แบบอางอิงทีซีพี/ไอพี หลักการพื้นฐานในการสื่อสารขอมูลดิจิตอลผานตัวกลางตางๆ ทั้งมีสายและไรสาย แนวคิดและ ขอตกลงในการสงตอขอมูลผานตัวกลางเปนทอดๆ เครือขายทองถิ่นและเครือขายขามถิ่น เชน อีเทอรเน็ต เอทีเอ็ม ขอคิด สําหรับการออกแบบสวนรับผิดชอบเครือขาย อัลกอริทึมการหาเสนทาง กลวิธีควบคุมความคับคั่ง มาตรฐานและตัวอยาง เครือขาย ขอคิดสําหรับการออกแบบสวนรับผิดชอบการนําสงขอมูลผานเครือขาย คุณภาพการใหบริการ มาตรฐานและ รายละเอียดตัวอยางโพรโตคอลนําสงขอมูล เชน ทีซีพี ยูดีพี เปนตน แนวทางและตัวอยางการนําเครือขายคอมพิวเตอรไปใช งาน เชน จดหมายอิเล็กทรอนิกส เวิลดไวดเว็บ และระบบการรักษาความปลอดภัยผานเครือขาย เปนตน An overview of computer networks, computer network referenced models such as OSI and TCP/IP, wire and wireless digital communication basis, concepts and agreements for peer-to-peer communication, LAN and WAN such as Ethernet and ATM, network layer design issues, routing algorithm, congestion control methodologies, standards and examples of networking, transport layer design issues, quality of services, standards and examples of transport protocols such as TCP and UDP and some computer network applications such as e-mail, WWW and network security. 3 (3-0-6) 01076214 ระบบฐานขอมูล DATABASE SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้ศึกษาถึงแนวคิดของระบบฐานขอมูล แฟมขอมูลและฐานขอมูล สถาปตยกรรมของระบบฐานขอมูล หนวยขอมูลและความสัมพันธของหนวยขอมูล การออกแบบฐานขอมูลดวยวิธีแผนภาพอีอาร การออกแบบฐานขอมูลดวย วิธีนอรมัลไลเซชัน โครงสรางฐานขอมูลแบบลําดับชั้น แบบเครือขาย และแบบเชิงสัมพันธ ภาษาฐานขอมูลและภาษาเรียก คนขอมูล A study of database system concepts, files and databases, database system architecture, data entities and relationships, data modeling using Entity-Relation Diagrams and normalization technique, hierarchical, network and relational models of databases, query language and database language. 3 (3-0-6) 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 0107602 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN ทบทวนความรูเกี่ยวกับการประมวลและแสดงผลทางตรรก การออกแบบวงจรดิจิตอลฟงกชันตางๆ ความรู เกี่ยวกับวงจรซีเควนเชียลแบบซิงโครนัสและอะซิงโครนัส การพัฒนาออกแบบและวิเคราะหวงจรคอมบิเนชันและซีเควนเชียล การออกแบบระบบดิจิตอลโดยใชวงจรรวมและอุปกรณตรรกที่สามารถโปรแกรมไดแบบตาง ๆ เชน PAL, CPLD และ FPGA ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาคอมพิวเตอรฮารดแวร และการใชภาษาเอชดีแอลสําหรับชวยในการออกแบบ To review knowledge of logic processing and representation, basic combination logic circuit design, synchronous and asynchronous sequential circuit, combination and sequential logic circuit - 64 - implementation and analysis, implementing logic function using programmable device such as PAL, CPLD and FPGA, computer hardware design process, hardware design using HDL. 01076216 ปฏิบัติการระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 0107602 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง The experiments related to 01076215 Advanced Digital System Design 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 01076217 ทฤษฎีการคํานวณ THEORY OF COMPUTATION วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM เซต ความสัมพันธ ฟงกชัน และกราฟ วิธีการพิสูจนทางคณิตศาสตร การอุปมานและการนิยามแบบเรียกตัวเอง ภาษาเรกกูลาร นิพจนเรกกูลาร ออโตมาตาจํากัด ภาษาคอนเทกซฟรีและออโตมาตาแบบกดลง การแจง เครื่องจักรทัวริ่ง ไวยากรณคอนเทกซเซนสิทิฟ ปญหาการตัดสินใจที่แกไดและแกไมได ปญหาแทร็คเทเบิ้ล และอินแทร็คเทเบิ้ล ปญหาเอ็นพีสมบูรณ A study of sets, relations, functions and graphs, mathematical proofs, induction and recursive definitions, regular languages, regular expressions, finite automata, context-free languages, pushdown automata, parsing, turing machine, context-sensitive grammars, solvable and unsolvable decision problems, tractable and intractable problems and NP-complete problems. 3 (3-0-6) 01076218 ระบบปฏิบัติการ OPERATING SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้ศึกษาหลักการและแนวคิดที่ใชในการออกแบบระบบปฏิบัติการสมัยใหม ไดแก โพรเซสโมเดลของการ ประมวลผล ความสัมพันธระหวางการเกียดกัน และการทํางานรวมกันของโพรเซส การใชเซมาฟอร การสงผานขอความ และ มอนิเตอร นอกจากนั้นยังกลาวถึงการตรวจจับเด็ดล็อกของโพรเซสและการปองกัน และยังกลาวถึงการจัดการทรัพยากร ตางๆ ตั้งแตการจัดตารางทํางานใหโพรเซสเซอร การบริหารหนวยความจํา และการจัดการหนวยความจําสํารอง และสุดทาย ยังกลาวถึงสถาปตยกรรมของระบบปฏิบัติการตางๆ และทิศทางการออกแบบและพัฒนาของระบบปฏิบัติการในอนาคต This course studies the principles and concepts that govern the design of modern operating systems. It covers process model of computation and the related areas of mutual exclusion and process synchronization, including the use of semaphores, message passing, and monitors. Process deadlock detection and prevention are also discussed. With respect to resource management, areas covered include processor - 65 - scheduling, memory management, and management of secondary storage devices. Finally, the course also covers alternative operating system architectures and the implications of future trends in computing on operating system design. 01076219 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 3 (3-0-6) INFORMATION SYSTEMS ANALYSIS AND DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศตอองคกรและระบบธุรกิจ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มศักยภาพของ ระบบ ขั้นตอนตางๆ ของการพัฒนาระบบ การวิเคราะหระบบ การสรางแผนภูมิการไหลของขอมูล ขอมูลดิกชันนารี การ ออกแบบระบบ การออกแบบสวนติดตอกับผูใช สวนเก็บขอมูล การวิเคราะหและการออกแบบระบบเชิงวัตถุ A study of the significance of information technology to business organization, the supporting of information technology to system, system development life cycle (SDLC) phases, system analysis, data flow diagram, data dictionary, system designing user interface, data collecting section and object - oriented analysis and design. 01076220 ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076219 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ The experiments related to 01076219 Information Systems Analysis and Design 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี TCP/IP NETWORKS วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS วิชานี้จะกลาวถึงเครือขายชนิดทีซีพีไอพีซึ่งเปนเครือขายที่มีการใชงานมากที่สุดในโลก รายละเอียดของวิชา ประกอบดวย ระดับชั้นตางๆ ของทีซีพีไอพี แอดเดรสในเครือขายอินเตอรเน็ต ระบบชื่อโดเมน รายละเอียดของโพรโตคอลไอพี เออารพี ไอซีเอ็มพี ทีซีพี และ ยูดีพี การหาเสนทางในเครือขายอินเตอรเน็ต โพรโตคอลหาเสนทาง ไดแก อารไอพี โอเอสพีเอฟ ไอเอสไอเอส บีจีพี และอื่นๆ นอกจากนั้นอธิบายถึงอุปกรณหาเสนทาง การหาเสนทางในเครือขายมัลติคาสต ไอพีเวอรชัน 6 และโพรโตคอลประยุกตตางๆ ไดแก โพรโตคอลไอจีเอ็มพี เอฟทีพี เอสเอ็มทีพี และอื่นๆ This subject describes TCP/IP networks, the most popular network in the world, TCP/IP layers, internet address, and domain name system. TCP/IP Protocol Suits: IP, ARP, ICMP, TCP and UDP. Internet and routing protocol: RIP, OSPF, IS-IS, BGP, and etc. It also covers routing device, multicast routing, IPv6 and other application protocol: IGMP, FTP, SMTP, and etc. - 66 - 01076222 ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี TCP/IP NETWORKS LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี The experiments related to 01076221 TCP/IP Networks 1 (0-3-0) - 67 - กลุมวิชาการศึกษาทางเลือก 1 (0-3-0) 01076301 โครงงาน 1 PROJECT 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ทําการวิจัยและพัฒนางานเฉพาะในสายวิศวกรรมคอมพิวเตอร นักศึกษาตองเสนอรายงานและขอสรุปของงาน ที่ทําเมื่อสิ้นสุดเทอมสุดทายของการศึกษา Research and development of computer engineering projects. Paper and summary report must be submitted at the end of the final semester. 01076302 โครงงาน 2 2 (0-6-0) PROJECT 2 วิชาบังคับกอน : 01076301 โครงงาน 1 PREREQUISITE : 01076301 Project 1 ทําการวิจัยและพัฒนางานเฉพาะในสายวิศวกรรมคอมพิวเตอร นักศึกษาตองเสนอรายงานและขอสรุปของงาน ที่ทําเมื่อสิ้นสุดเทอมสุดทายของการศึกษา Research and development of computer engineering projects. Paper and summary report must be submitted at the end of the final semester. 01076303 สหกิจศึกษา CO-OPPORATIVE EDUCATION วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติงานในสถานประกอบการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาเปนเวลาไมนอยกวา 405 ชั่วโมง Practices in computer engineering related company approximately 405 hours 6 (0-270-0) 01076304 การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ 6 (0-270-0) OVERSEA TRAINING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการฝกงานกับสถาบันที่ศึกษาในตางประเทศในสาขาวิชาที่เกี่ยวของเปนเวลาไมนอยกวา 405 ชั่วโมง Training in computer engineering related oversea institute not less than 405 hours - 68 - กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา กลุมวิชาเลือกสาขาฮารดแวร 3 (3-0-6) 01076401 ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน MICROPROCESSOR AND INTERFACING วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 0107602 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN โครงสรางของระบบไมโครคอมพิวเตอร ไมโครโพรเซสเซอร ระบบบัสตางๆ อินพุทพอรต เอาทพุทพอรต การด แสดงผล จอภาพ อุปกรณประกอบอื่นๆ การเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีและภาษาระดับสูงเพื่อการควบคุมระบบ การ ออกแบบวงจรเชื่อมตอเพื่อการควบคุมระบบภายนอกผานทางพอรตขนาน พอรตอนุกรม และพอรตอื่นๆ ระบบ หนวยความจําหลัก หนวยความจําสํารอง ระบบไฟลขอมูล Microcomputer architecture; microprocessor; various types of bus system; input ports output ports; display adaptor; monitor; peripherals; controlling program using assembly language and higher level languages; design of interfacing circuit for controlling external circuits via parallel port, serial port, and the other types of ports; main memory system; secondary storage devices; file system. 01076402 ปฏิบัติการเชื่อมตอใชงานไมโครโพรเซสเซอร MICROPROCESSOR INTERFACING LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 0107602 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076401 ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน The experiments related to 01076401 Microprocessor and Interfacing 1 (0-3-0) 01076403 การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร 3 (3-0-6) COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT วิชาบังคับกอน : 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง PREREQUISITE : 01076215 ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN การออกแบบวงจร และลอจิกของฮารดแวรคอมพิวเตอร การจําลองการทํางาน การตรวจสอบและการสราง ระบบคอมพิวเตอร รวมถึงสวนขอมูล และวงจรควบคุมซีพียู การออกแบบระบบหนวยความจํา การออกแบบแคช การ ออกแบบสวน อินพุท-เอาทพุท และการเชื่อมตอ การออกแบบบัส A study of computer hardware circuit and logic design, circuit simulation and verification, CPU, data path, control logic design, memory system design, cache memory design. Input/output system design and interfacing, bus design. 01076404 ปฏิบัติการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT LABORATORY 1 (0-3-0) - 69 - วิชาบังคับกอน : 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง PREREQUISITE : 01076215 ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076403 การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร The experiments related to 01076403 Computer Hardware Development 01076405 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง 3 (3-0-6) ADVANCED COMPUTER ARCHITECTURE วิชาบังคับกอน : 01076212 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076212 COMPUTER ARCHITECTURE แนะนําสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรความเร็วสูง สถาปตยกรรมแบบขนาน หนวยความจําและระบบติดตอกับ ภายนอก คอมพิวเตอรไปปไลนและวิธีการเวกเตอร ศึกษาระบบแบบ SIMD และ MIMD ศึกษาคอมพิวเตอรที่ประมวลผล แบบขนานอยางหนัก เครือขายที่เชื่อมตอระหวางกัน การจัดการเรื่องหนวยความจําและปญหาการทํางานไปพรอมๆกัน อัลกอริทึมการควบคุมตัวประมวลหลายตัว ปญหาเรื่องเด็ดล็อก การทํางานเขาจังหวะกัน อัลกอริทึมแบบขนาน และการไหล ของขอมูลในคอมพิวเตอร An introduction to high speed computer architecture, parallel architecture, memory and input/output system, pipelining and vector processing, SIMD and MIMD computers, massive parallel processing architecture, interconnection network, memory contention management, multi-processor control algorithm, deadlock, synchronization, parallel algorithm and flow of data in computer. 01076406 การออกแบวงจรรวมขนาดใหญมากเบื้องตน 3 (3-0-6) BASIC VLSI DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง PREREQUISITE : 01076215 ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN วิวัฒนาการทางดานวงจรรวม การเจือสาร การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก การออกแบบระดับวงจร ระดับลอจิก การทําเลยเอาท การจําลองและการตรวจสอบการทํางานของวงจรรวมขนาดใหญมาก คอมพิวเตอรเพื่อชวยใน การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก Integrated circuit development, fabrication process, VLSI design methodology, circuit and logic design, VLSI layout, VLSI circuit simulation and verification, CAD in VLSI design. 01076407 หุนยนตเบื้องตน INTRODUCTION TO ROBOTICS วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 0107602 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN 3 (3-0-6) แนะนําความรูพื้นฐานที่จะนํามาใชกับหุนยนต แขนหุนยนตแบบไคเนเมติกส แขนหุนยนตแบบไดนามิกส แผนการวางรูปแบบของหุนยนต การควบคุมชิ้นสวนของหุนยนต วงจรใหกําเนิดสัญญาณแบบตางๆ ที่ใชในหุนยนต การ มองเห็นของหุนยนต ภาษาโปรแกรมที่ใชควบคุมหุนยนต - 70 - An introduction to the robot kinematics, planning of manipulator, trajectories, control of robot manipulators, sensing, robot vision, robot programming language, robot intelligence and task planning. 3 (1-6-5) 01076408 การพัฒนาหุนยนตขนาดเล็ก MICRO ROBOT DEVELOPMENT วิชาบังคับกอน : 01076401 ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน PREREQUISITE : 01076401 MICROPROCESSOR AND INTERFACING ศึกษาหลักการทํางานหุนยนต องคประกอบของหุนยนต การออกแบบ การวิเคราะห และการประยุกตใชงาน เพื่องานวิจัยและงานอุตสาหกรรม เชนหุนยนตขนาดเล็ก หุนยนตเคลื่อนที่ หุนยนตชวยงานวิจัย สรางหุนยนตตามความคิด สรางสรรคที่นักศึกษาออกแบบภายใตกรอบหัวขอที่อาจารยตั้งไว เพื่อใหไดรูปแบบหุนยนตที่หลากหลายและสามารถ ประยุกตใชงานไดจริง A study of principles and components of robot, design, analysis and robot application for research and industry such as micro-robot, Mobile robot, research assistant robot, student’s research and development in creating their own robot according to lecturer’s preset topics. 3 (3-0-6) 01076409 ระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง HIGH PERFORMANCE COMPUTING วิชาบังคับกอน : 01076212 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076212 COMPUTER ARCHITECTURE วิชานี้จะแนะนําถึงระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง และ การนําไปใชงานทางดานวิทยาศาสตรและ วิศวกรรมศาสตร โดยเนื้อหาวิชาจะเนนถึงเครื่องมือและเทคนิคที่ใชแกปญหาขนาดใหญ และ ปญหาที่ใชการคํานวณอยาง หนัก ที่ทํางานบนระบบคอมพิวเตอรแบบขนาน ระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง หรือซูเปอรคอมพิวเตอรไดอยางมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังกลาวถึงสถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูงแบบกระจาย ระบบอ็อบเจ็กตแบบ กระจาย ระบบเครือขายแบบกระจาย รวมถึงประเด็นตาง ๆ ในเรื่องประสิทธิภาพ และการทํานายประสิทธิภาพ เครื่องแมขาย ที่ขยายตัวได ระบบคอมพิวเตอรเมตา และระบบคอมพิวเตอรที่ใชในวิทยาศาสตร The course gives an introduction to High Performance Computing and its applications within science and engineering. The main emphasis of the course is on techniques and tools for efficiently solving large and computationally intense problems on vector and parallel computers and other high performance computing systems (or supercomputers). It also describes architecture of high performance distributed systems, high distributed objects (DCOM, CORBA, Java Beans) and networking with crosscut issues for performance, availability, and performance predictability. Scalable servers, metacomputing, and scientific computing. 01076410 ระบบสมองกลฝงตัว EMBEDDED SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3 (3-0-6) - 71 - PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN วิชานี้กลาวถึงภาพรวมของระบบสมองกลฝงตัว โดยเนนที่การสื่อสารระหวางระบบตางๆ การเชื่อมตอกับ ภายนอก การประหยัดพลังงาน ความปลอดภัย และ เสถียรภาพ วิชานี้ครอบคลุมหลักการออกแบบ วิธีการ เครื่องมือที่ใช ออกแบบ และกรณีศึกษา This course provides an overview of embedded systems, with the emphasis on communication among distributed systems, interfacing with external environments, energy conservation, safety and reliability. The course covers design principles, methodologies, design tools, and case studies. กลุมวิชาเลือกสาขาซอฟตแวร 01076501 การออกแบบและวิเคราะหอัลกอริธึม 3 (3-0-6) DESIGN AND ANALYSIS OF ALGORITHM วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้กลาวถึงทฤษฎีและเทคนิคของการวิเคราะหและออกแบบอัลกอริทึม นักศึกษาจะไดศึกษาแนวทาง ออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแกปญหาในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งประกอบดวย การคนหาขอมูล การเลือกขอมูล การเรียงขอมูล ทฤษฎี ของกราฟ ทฤษฎีตัวเลข และการเขารหัสลับ นอกจากนั้นยังศึกษาวิธีการตาง ๆ ไดแก วิธีการกรีดดี้ วิธีการแบงและจัดการ การโปรแกรมแบบไดนามิก การยอนกลับ สําหรับการวิเคราะหอัลกอริทึม นักศึกษาจะไดศึกษารูปแบบของเวลาและ ทรัพยากรที่ใชในการทํางาน โดยใชเทคนิคตาง ๆ ศึกษาการวัดความซับซอนของอัลกอริทึม This course covers the theory and techniques of algorithm design and analysis. For algorithm design, students will study a wide variety of algorithmic solutions to problems from several application areas. These areas include searching, selecting, sorting, graph theory, number theory, and encryption. In addition, several design paradigms will be covered including the greedy method, divide and conquer, dynamic programming, backtracking, and branch-and-bound. For algorithm analysis, students will practice the formulation of an algorithm's execution time using formal analysis techniques. In addition, the student will use software tools to measure actual resources that a program uses during execution 01076502 การพัฒนาซอฟตแวรระบบ 3 (3-0-6) SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้สอนการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการวินโดวส โดยศึกษาสวนประกอบตางๆ ระบบปฏิบัติการ สวนประกอบของ MFC และการใชงาน MFC ศึกษาสภาพแวดลอมการพัฒนาโปรแกรม รูปแบบการสื่อสารระหวางโปรแกรม สวนเชื่อมตอกับกราฟก การติดตอกับอุปกรณอินพุต การสรางเมนู การติดตอกับไฟล การจัดการกับออบเจ็กต การบริหาร หนวยความจํา การเขียนโปรแกรมแบบหลายเทรด การสรางโปรแกรมแบบ DLL แบบ ActiveX และการเขียนโปรแกรมแบบ โมเดลอ็อบเจกพื้นฐาน - 72 - This course introduces programming applications in the Microsoft 32-bit Windows systems using Microsoft Visual C++ and Microsoft Foundation Classes (MFC). The main components of a Windows application include the introduction of MFC, developing environment, messaging model, graphics device interfaces, menus, file I/O, object serialization, memory management, multi-thread programming, DLL and ActiveX development and basic object model. 01076503 ปฏิบัติการพัฒนาซอฟตแวรระบบ SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076502 การพัฒนาซอฟตแวรระบบ The experiments related to 01076502 System Software Development 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 01076504 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ UNIX SYSTEM PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS วิชานี้กลาวถึง ระบบปฏิบัติการยูนิกซและการเขียนโปรแกรมในระดับของระบบปฏิบัติการ ประกอบดวยการ เขียนโปรแกรมเชลล การใชงานซิสเต็มคอลล ระบบไฟลและไดเร็กทอรี การประมวลผลไฟล การสรางโพรเซส การควบคุมโพ รเซส การสงสัญญาณ การติดตอกับเทอรมินอล การสรางเดมอนโพรเซส และการติดตอระหวางโปรแกรม An introductory study in UNIX operating system with an emphasis on programming at the system level including shells and shell script programming, UNIX system calls, file and directory systems, file processing, UNIX process, process control, terminal I/O, daemon process, interprocess communication 01076505 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ UNIX SYSTEM PROGRAMMING LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076504 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ The experiments related to 01076504 UNIX System Programming 1 (0-3-0) 01076506 การออกแบบและการสรางระบบปฏิบัติการ DESIGN AND IMPLEMENTATION OF OPERATING SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS 3 (3-0-6) - 73 - โครงสรางของขอมูลของระบบปฏิบัติการ วิธีการจัดลําดับงาน การจัดการหนวยความจําเสมือน การจัดการ เกี่ยวกับอินเตอรรัปต การเขียนโปรแกรมของระบบหลายโปรแกรม การออกแบบโครงสรางขอมูลและอัลกอริทึมของ โปรเซส ระบบไฟล การติดตอสื่อสารระหวางโปรเซส มอนิเตอร การจัดลําดับโปรเซส การทําอินพุท/เอาทพุท การจัดการระบบ หนวยความจํา A study of operating system structure, task scheduling, virtual memory management, interrupt scheduling, multitasking programming, implementation details of process, file systems, interprocess communication, monitor, scheduling algorithm, input/output, memory management 01076507 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา 3 (3-0-6) JAVA PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE วิชานี้จะสอนภาษาจาวา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุดวยภาษาจาวา การสรางสวนติดตอผูใชแบบกราฟก การ เขียนโปรแกรมติดตอกับไฟล การเขียนโปรแกรมติดตอกับอินพุตเอาทพุตตางๆ การใชงานเทรด การเขียนโปรแกรมเชื่อมตอ กับเครือขาย และการพัฒนาแอปพลิเคชันดวยภาษาจาวาทั้งแบบแอ็ปแพล็ตและแบบแอปพลิเคชัน This course provides students the syntax of the Java programming language, object-oriented programming with the Java programming language, creating graphical user interfaces (GUI), exceptions, file input/output (I/O), threads and networking, and how to develop both Java applet and application 01076508 ปฏิบัติการภาษาจาวา JAVA PROGRAMMING LABORATORY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076507 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา The experiments related to 01076507 Java Programming 1 (0-3-0) 01076509 เทคโนโลยีภาษาจาวา 3 (3-0-6) JAVA TECHNOLOGY วิชาบังคับกอน : 01076507 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา PREREQUISITE : 01076507 JAVA PROGRAMMING วิชานี้จะสอนนักศึกษาเกี่ยวกับความสามารถตางๆ ในภาษาจาวา ไดแก จาวาบีนส การเขียนโปรแกรมเซิรฟเลท การเชื่อมตอภาษาจาวากับฐานชอมูล การรับสงขอมูลระยะไกล และ สวิง รวมทั้งการเขียนโปรแกรมเครือขายแบบอนุกรม คุณสมบัติ ความปลอดภัย และ คลาสและสถาปตยกรรมของคลาสตางๆ This course exposes the student to Advanced Java features such as JavaBeans, Servlet Programming, the Java Database Connectivity, Remote Method Invocation, and Swing. Other major topics in - 74 - this course include Network Programming Serialization, Properties, Security, the Collection Classes and Architectures. 01076510 ปฏิบัติการเทคโนโลยีภาษาจาวา JAVA TECHNOLOGY LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076507 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา PREREQUISITE : 01076507 JAVA PROGRAMMING ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076509 เทคโนโลยีภาษาจาวา The experiments related to 01076509 JAVA Technology 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 01076511 ปญญาประดิษฐ ARTIFICIAL INTELLIGENCE วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้มีเนื้อหาดังนี้ ความหมายของปญญาประดิษฐ แนวทางในการแทนความรู รวมทั้งเฟรม สคริปต กฏ และ ลอจิก และเทคนิคเชิงปญญาประดิษฐ ไดแก วิธีการคนหาและวีคเมทอต ลอจิก และระบบที่ใชกฎ โครงขายประสาทเทียม เจเนอริคทาสก และอื่นๆ นอกจากนี้ยังแนะนําถึงปญหาที่ตรวจสอบ การเรียนรูของเครื่องจักร เอเจนตที่ใชฐานความรู,ความ เขาใจภาษาธรรมชาติ การรับรูของคอมพิวเตอร การวางแผน และการเลนเกม The course covers the following topics: a survey of knowledge representation issues including frames, scripts, rules and logic, and AI techniques including weak methods and blind search, logic, rule-based systems, neural networks, generic tasks and others. The course will also introduce problems of diagnosis, machine learning, knowledge-based agent, natural language understanding, computer perception, planning and game playing. 01076512 แนวคิดภาษาคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) PROGRAMMING LANGUAGE CONCEPT วิชาบังคับกอน : 01076217 ทฤษฎีการคํานวณ PREREQUISITE : 01076217 THEORY OF COMPUTATION ประวัติความเปนมาและความเกี่ยวโยงของภาษา ความคิดพื้นฐานของภาษาไวยากรณและความหมาย การ ออกแบบตัวแปรภาษา ลักษณะของภาษาในปจจุบันรวมทั้งไวยากรณที่ถูกตอง และลักษณะเดนตางๆ ของภาษาที่นาสนใจ การเขียนโปรแกรมและการแกไขโปรแกรมไปสูตัวแปรภาษา An introduction to history and connection of programming languages, basic concepts of syntax and semantics of programming languages, compiler design, syntax and characteristics of modern programming languages, interesting characteristics of programming language, writing and correcting programs. 01076513 การสรางคอมไพเลอร 3 (3-0-6) - 75 - COMPILER CONSTRUCTION วิชาบังคับกอน : 01076217 ทฤษฎีการคํานวณ PREREQUISITE : 01076217 THEORY OF COMPUTATION ศึกษาภาพรวมของเครื่องมือแปลภาษาโปรแกรมระดับสูง การวิเคราะหคํา โทเคน ไฟไนตออโตมาตา ตาราง สัญลักษณ การวิเคราะหไวยากรณ วจีวิภาค การตรวจสอบชนิดขอมูล การจัดการสภาพแวดลอมขณะโปรแกรมทํางาน การ สรางภาษากลางและภาษาเครื่อง และเทคนิคปรับปรุงโคดใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น พรอมยกตัวอยางการสรางคอมไพเลอร สําหรับภาษาที่กําหนด An overview of high-level programming language translators, lexical analysis, token, finite automata, symbol tables, syntax analysis, parser, types checking, run-time environment handling, intermediate and machine code generation and code optimization, together with an example compiler design and construction for specific language. 01076514 ปฏิบัติการสรางคอมไพเลอร COMPILER CONSTRUCTION LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076217 ทฤษฎีการคํานวณ PREREQUISITE : 01076217 THEORY OF COMPUTATION ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076513 การสรางคอมไพเลอร The experiments related to 01076513 Compiler Construction 1 (0-3-0) 01076515 การออกแบบเกม 3 (3-0-6) GAME DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้จะศึกษาเทคโนโลยี วิทยาการ และศิลปะ ที่เกี่ยวของกับการสรางเกมคอมพิวเตอร นักศึกษาจะไดเรียน เทคโนโลยีของซอฟตแวรที่เกี่ยวกับการออกแบบเกม ประกอบดวย ภาษาที่ใชเขียนโปรแกรม รวมถึงภาษาแบบสคริปตดวย ศึกษาระบบปฏิบัติการ ระบบไฟล ระบบเครือขาย กลไกการจําลองสถานการณ และระบบสื่อผสม เนื้อหาที่สอนจะเลือกจาก สวนตางๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยาการดานเกม อาทิ การจําลองและโมเดล กราฟกคอมพิวเตอร ปญญาประดิษฐ การ ประมวลผลแบบเรียลไทม ทฤษฎีของเกม วิศวกรรมซอฟตแวรของเกม การโตตอบระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร การ ออกแบบกราฟก และความสวยงามของเกม This course deals with the study of technology, science, and art involved in the creation of computer games. Students will study a variety of software technologies relevant to computer game design, including: programming languages, scripting languages, operating systems, file systems, networks, simulation engines, and multi-media design systems. Lecture and discussion topics will be taken from several areas of computer science: simulation and modeling, computer graphics, artificial intelligence, real-time processing, game theories, software engineering, human computer interaction, graphic design, and game aesthetics. - 76 - 01076516 การวิเคราะหสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอรเบื้องตน 3 (3-0-6) INTRODUCTION TO COMPUTER SYSTEMS PERFORMANCE ANALYSIS วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS ปจจัยที่มีผลตอสมรรถนะของระบบ วิชานี้จะเรียนรูถึงหลักการวิเคราะหสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร และการทดสอบสมรรถนะ เปาหมายของวิชานี้ คือ ใหนักศึกษาไดเรียนรู ถึงความรูที่ใชในการประเมินสมรรถนะของคอมพิวเตอร เทคนิคของการวัด เครื่องมือที่ใช การทําเบนซมารค เทคนิคการ ออกแบบการวิเคราะห และการวางแผนปรับปรุงความสามารถของคอมพิวเตอร โดยสามารถระบุคอขวดของคอมพิวเตอรที่ กระทบกับสมรรถนะ สามารถบอกถึงขีดจํากัดของระบบ และสามารถบอกลักษณะของงานในปจจุบันและงานในอนาคต เพื่อจะสามารถวางแผนปรับปรุงความสามารถได This course deals with the study of performance analysis principles, factors that affect the performance of a computer system, computer system components and performance running. This course provides students a working knowledge of computer performance evaluation, measurement techniques, instrumentation, benchmarking, analytical modeling techniques and capacity planning. They will be able to identify performance bottlenecks, to predict when performance limits of a system will be exceeded, and to characterize present and future workload to perform capacity planning activities. 01076517 ระบบคอมพิวเตอรที่ทนตอความผิดพลาด 3 (3-0-6) FAULT TOLERANT COMPUTING วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS วิชานี้จะศึกษาบริการและผูใหบริการ และความสัมพันธระหวางผูใหบริการ การแยกแยะความผิดพลาด ความหมายของความผิดพลาด และการจัดการกับความผิดพลาด โดยศึกษาถึงการตรวจจับความผิดพลาดและการกูคืน การ ปดบังและการเผยแพรความผิดพลาด การหยุดและการทํางานตอในการจัดการความผิดพลาด หนวยเก็บขอมูลที่เชื่อถือได การสื่อสารที่เชื่อถือได กลุมของกระบวนการ กลุมสมาชิกที่ทํางานเขาจังหวะกันและไมเขาจังหวะกัน การแจงการบริการ การ บริหารระบบสํารองอัตโนมัติ และกรณีศึกษาในระบบที่ทนตอความผิดพลาด A study of understanding services, servers, and the depends-upon relation, failure classification, failure semantics, exception handling: detection, recovery, masking and propagation, termination vs. resumption in exception handling, fail-stop processors and I/O controllers, reliable storage, reliable communication, process groups, synchronous and asynchronous group membership, broadcast services, automatic redundancy management and case studies of fault-tolerant systems. 01076518 ระบบคอมพิวเตอรแบบกระจาย DISTRIBUTED COMPUTING วิชาบังคับกอน : 01076218 ระบบปฏิบัติการ PREREQUISITE : 01076218 OPERATING SYSTEMS 3 (3-0-6) - 77 - วิชานี้จะเรียนรูถึงการประมวลผลแบบกระจายโดยเนนที่ซอฟตแวรระบบ โดยจะศึกษาสถาปตยกรรมของระบบ แบบกระจาย การเขียนโปรแกรมแบบกระจาย การสงผานขอความ การเรียกใชฟงกชันระยะไกล การสื่อสารแบบกลุม ปญหา สมาชิกและการตั้งชื่อ เวลาเชิงตรรก ความตองกัน การทนตอความผิดพลาดและการกูคืน นอกจากนั้นยังกลาวถึงการ ประมวลผลรายการแบบกระจาย การเขาจังหวะระหวางกระบวนการและการควบคุมการประจวบกัน คุณภาพของการ ใหบริการ การรักษาความปลอดภัย ตัวกลางแบบตาง ๆ (CORBA, DCE และ DCOM) ภาษาที่ใชประสานกัน ระบบการ โปรแกรมแบบกระจาย (Linda, PVM, JINI) และระบบปฏิบัติการแบบกระจาย This course concentrates on distributed computing from a system software perspective. Major topics include distributed system architecture, distributed programming, message passing, remote procedure calls, group communication, naming and membership problems, logical time, consistency, fault-tolerance, and recovery. Concepts and architectures for distributed and concurrent computing, distributed transaction processing, process synchronization and concurrency control, quality of service, security, CORBA, DCE and DCOM middleware. Coordination languages and distributed programming systems; Linda, PVM, JINI. Distributed operating systems are also included. 01076519 อัลกอริธึมแบบขนาน 3 (3-0-6) PARALLEL ALGORITHM วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ออกแบบและวิเคราะหอัลกอริทึมแบบขนาน เนื้อหาเนนที่การคํานวณแบบขนานใชหนวยความจํารวมกันและ หนวยความจําแบบกระจาย อัลกอริทึมกราฟ อัลกอริทึมการแบงและพิชิต ปญหาทางจํานวน อัลกอริทึมแบบขนานสําหรับ วิธีการรวมกันที่ใหผลดีที่สุด Parallel algorithm analysis and design emphasizing on parallel computation, shared and distributed memory consideration, graph algorithm, divide and conquer algorithm, numerical computation and parallel algorithm. 01076520 ระบบฐานขอมูลขั้นสูง ADVANCED DATABASE SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076214 ระบบฐานขอมูล PREREQUISITE : 01076214 DATABASE SYSTEMS 3 (3-0-6) ระบบจัดการฐานขอมูล โครงสราง และสวนประกอบ ฐานขอมูลระดับกายภาพ กลไกในการเขาถึงฐานขอมูล การประมวลคําถาม การประมวลกลุมคําสั่ง การคืนสภาพขอมูล การใชขอมูลรวมกัน ระบบฐานขอมูลแบบกระจาย ฐานขอมูลเชิงวัตถุ ฐานขอมูลอนุมาน Database management systems, structure and components, physical databases, access mechanisms, query processing, transaction processing, recovery control, concurrency control, distributed database systems, object-oriented databases and deductive databases - 78 - 3 (3-0-6) 01076521 วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงวัตถุ OBJECT ORIENTED SOFTWARE ENGINEERING วิชาบังคับกอน : 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร PREREQUISITE : 01076211 SOFTWARE ENGINEERING วิชานี้จะกลาวถึงหลักการและเทคนิคที่ใชในการวิเคราะหและออกแบบซอฟตแวร โดยใชแนวคิดเชิงวัตถุ โดยจะ เนนการประยุกตใชภาษายูเอ็มแอลเปนพื้นฐานในการวิเคราะหและออกแบบซอฟตแวร ซึ่งมีเนื้อหาตั้งแตสถาปตยกรรม อ็ อบเจ็ก คลาส คอมโพเนนต การจําลองตัวพิมพวิธี ความสัมพันธ และการใชแผนภาพและเครื่องมือตาง ๆ ที่เหมาะสมสําหรับ วิเคราะหและออกแบบในกระบวนการพัฒนาซอฟตแวร This course presents an integrated set of techniques for software analysis and design based on object-oriented concepts. The techniques focus on applying the Unified Modeling Language (UML) to fundamental object-oriented analysis and design concepts including architecture, objects, classes, components, stereotypes, relationships, and all supporting diagrams to produce the artifacts and work products appropriate for the analysis and design phases of the software development lifecycle. 3 (3-0-6) 01076522 วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงคณิตศาสตร MATHEMATICAL SOFTWARE ENGINEERING วิชาบังคับกอน : 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร PREREQUISITE : 01076211 SOFTWARE ENGINEERING เนื้อหาวิชาครอบคลุม คณิตศาสตร ตรรกศาสตร และภาษาเฉพาะ ที่ใชในการพัฒนาความตองการและ ขอกําหนดของซอฟตแวร การออกแบบวิธีตาง ๆ การตรวจสอบโปรแกรมโดยวิธีการเทสติงและวิธีการเวอรริฟเคชั่น การซอม บํารุงซอฟตแวร การวัดปริมาณตางๆ ของซอฟตแวร การปรับปรุงขั้นตอนการพัฒนาซอฟตแวร การบริหารโครงการซอฟตแวร และวิศวกรรมซอฟตแวรเชิงวัตถุ This course covers mathematics, logic, and specific languages used for requirement and specification of software, different types of software design, software testing and verification, software maintenance, software metrics, software process improvement, software project management, and objectoriented software engineering. 01076523 ระบบเชิงวัตถุแบบกระจาย 3 (3-0-6) DISTRIBUTED OBJECT SYSTEM วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ซึ่งเปนเทคโนโลยีในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุที่วัตถุใน ศึกษาหลักการของระบบเชิงวัตถุแบบกระจาย สภาพแวดลอมแบบกระจาย สามารถสื่อสารและแบงปนทรัพยากรซึ่งกันและกันได โดยไมจําเปนตองรูตําแหนงของวัตถุนั้น วิชานี้จะศึกษาการสรางระบบเชิงวัตถุแบบกระจายสมัยใหมแบบตางๆ เชน สถาปตยกรรมตัวแทนรองขอวัตถุพื้นฐาน (CORBA), การเรียกคืนวิธีการระยะไกลของจาวา (RMI) และโครงสรางวัตถุเชิงคอมโพเนนตแบบกระจาย - 79 - The objective of this course is to study the principles of distributed objects. Distribute object is the technology for programming that objects in system can communicate transparently on a distributed environment, hence, it can conveniently share resources. Students will investigate various modern distributed object implementations such as Common Object Request Broker Architecture (CORBA), Java Remote Method Invocation (RMI) and Distributed Component Object Model (DCOM). 01076524 การพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต 3 (3-0-6) COMPONENT BASED SOFTWARE DEVELOPMENT วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM พื้นฐานของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต องคประกอบของคอมโพเนนต การออกแบบโดยเนนอินเตอรเฟส โปรแกรมประยุกตและสถาปตยกรรมของคอมโพเนนต เทคโนโลยีคอมโพเนนตและมาตรฐานตาง ๆ ของคอมโพเนนต แนว ทางการสรางโมเดลตางๆ ของคอมโพเนนต วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต การประยุกตใชงาน ซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต เทคโนโลยีมิดเดิลแวรและคอมโพเนนต Component-based development fundaments, elements of a component interface-focused design, application and component architecture, current practice in component-based development, component technology and standards, component-oriented modeling, component-based development life cycle, middleware and component technology. 3 (3-0-6) 01076525 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MANAGEMENT INFORMATION SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076211 วิศวกรรมซอฟตแวร PREREQUISITE : 01076211 SOFTWARE ENGINEERING ศึกษาหลักการดานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสรางของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยี สารสนเทศ กระบวนการตัดสินใจ หลักการสารสนเทศ มนุษยในฐานะผูประมวลสารสนเทศ หลักการดานระบบ หลักการดาน การวางแผนและควบคุม โครงสรางองคกรและหลักการจัดการระบบสนับสนุนการวางแผนควบคุมและตัดสินใจ ระบบ สนับสนุนการจัดการดานความรูขอกําหนดความตองการดานสารสนเทศ การพัฒนา การจัดทําใหสําเร็จและจัดการ ทรัพยากรในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Study the principles of management information system, information technology structure for management, decision-making process, information principles, human as an information operator, system principles, planning and control principles, organization structure and decision support system, knowledge support system, information technology specification, development, success and information resource management. 01076526 การจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ INFORMATION STORAGE AND RETRIEVAL 3 (3-0-6) - 80 - วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิธีการและเทคโนโลยีในเรื่องของการจัดเก็บและเรียกดูสารสนเทศที่อยูในรูปเอกสาร รูปภาพ เสียง และ ภาพเคลื่อนไหว การวิเคราะหลักษณะของสารสนเทศที่อยูในเอกสาร ความคลายคลึงกันของเอกสาร หลักในการกําหนดตัว อางหรือดัชนี วิธีการหาคูเหมือน ขอควรคํานึงถึงในการจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ วิธีการจัดเก็บและการคนคืนงาน สารสนเทศที่อยูในสื่อแบบตางๆ The focus of this course is on methods and technologies relevant to storing and retrieving information in the form of documents, images, audio and video. Students will study storage and retrieval issues, nature of media and information they contain, similarity between documents, indexing techniques, matching processes, storage and retrieval options, information storage and retrieval in varies means. 01076527 เหมืองขอมูล 3 (3-0-6) DATA MINING วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้จะแนะนําถึงเหมืองขอมูล นักศึกษาจะไดเรียนรูพื้นฐานของอัลกอริทึมที่ใชพัฒนาเหมืองขอมูล โดยจะเนน ไปที่การประยุกตใชกับงานจริง นักศึกษาจะศึกษาชนิดขอมูลของผูใช วิธีการของเหมืองขอมูล การวัดประสิทธิผลของเหมือง ขอมูล ภาพรวมของเทคนิคตางๆ ของเหมืองขอมูล การวิเคราะหเชิงการตลาดดวยเทคนิคเหมืองขอมูล การหาเหตุผลเชิง ความจํา การคนหากลุมโดยอัตโนมัติ การวิเคราะหการเชื่อมโยง เครือขายประสาทเทียม อัลกอริทึมพันธุกรรม เหมืองขอมูล และคลังขอมูล This course provides an introduction to data mining. Students will learn the basics of data mining algorithm development with an emphasis on real world applications. Students will learn user data types, data mining methodology, measuring the effectiveness of data mining, overview of data mining techniques, market basket analysis, memory based reasoning, automatic cluster detection, link analysis, artificial neural networks, genetic algorithms, data mining and data warehouse. 3 (3-0-6) 01076528 การประมวลผลสัญญาณเชิงเลข DIGITAL SIGNAL PROCESSING วิชาบังคับกอน : 01076202 การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก PREREQUISITE : 01076202 DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN แนะนําการประมวลผลสัญญาณดิจิตอลและการประมวลผลสัญญาณเวลาไมตอเนื่อง ระบบเชิงเสนที่เวลาไม ตอเนื่อง สมการเชิงอนุพันธ การแปลงแบบ Z การแปลงฟูเรียรของเวลาไมตอเนื่อง การแปลงจากอนาล็อกเปนดิจิตอล และ การแปลงดิจิตอลเปนอนาล็อก การเพิ่มและลดขอมูลโดยอาศัยแนวโนม การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล การแปลงฟูเรียร แบบไมตอเนื่อง การแปลงฟูเรียรแบบเร็ว การวิเคราะหสเปกตรัม และการประยุกตใชการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล An introduction to discrete-time systems and digital signal processing, discrete-time linear systems, difference equations, z-transform, discrete convolution, stability, discrete-time Fourier transform, analog-to- - 81 - digital and digital-to-analog conversion, interpolation and decimation, digital filter design, discrete Fourier transform, fast Fourier transform, spectral analysis and applications of digital signal processing. 3 (3-0-6) 01076529 การประมวลผลภาพ IMAGE PROCESSING วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้เปนวิชาเบื้องตนสําหรับการประมวลผล และวิเคราะหสัญญาณภาพ ซึ่งจะกลาวถึง การแทนสัญญาณ ของภาพดวยฟงกชันทางคณิตศาสตร การสุมและควอนไตซสัญญาณภาพ การรับรูและเขาใจภาพ การแปลงสัญญาณภาพ การเพิ่มคุณภาพของภาพ รวมทั้งการกรองและการเขารหัสสัญญาณภาพ This is an introductory course on image processing and analysis dealing with mathematical representation of images, image sampling and quantization, image perception, image transforms, image enhancement, filtering and image coding. 01076530 การบีบขอมูลและสัญญาณ 3 (3-0-6) DATA AND SIGNAL COMPRESSION วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้จะกลาวถึงทั้งทฤษฎีพื้นฐานและอัลกอริทึมในการปฏิบัติ เพื่อการบีบอัดขอมูลและสัญญาณ หัวขอที่จะ กลาวถึงไดแก การการเขารหัสแบบไมมีการสูญเสีย เชน การเขารหัสแบบฮัฟแมน และ แลมแพลซิฟ รวมทั้งการเขารหัสแบบ มีการสูญเสีย เชน การเขารหัสแบบสเกลารควอนไตเซอร การเขารหัสโดยใชเทคนิคการแปลงสัญญาณตางๆ This course addresses both the theoretical basis and practical algorithms for data and signal compression. Topics cover loss-less entropy based coding including Huffman and Lempel-Ziv, and loosely compression techniques including: scalar quantizers and several techniques using transform coding theory. 01076531 ระบบสื่อผสม 3 (3-0-6) MULTIMEDIA SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM สื่อประเภทตางๆ การจัดประเภทสื่อ คุณลักษณะและความตองการของขอมูลสื่อผสม โมเดลและโครงสรางการ เก็บขอมูลสื่อผสม ระบบสารสนเทศสื่อผสม มาตรฐานการบีบอัดขอมูล คุณภาพการบริการของโปรแกรมประยุกตสื่อผสม การทํางานพรอมกันของสื่อผสม สภาพแวดลอมการทํางานของสื่อผสม สถาปตยกรรมและองคประกอบของระบบสื่อผสม ระบบสื่อผสมแบบกระจาย A study of types of media, media classification, characteristics and requirements of multimedia, multimedia storage models and structures, multimedia information systems, data compression standards, - 82 - quality of service in multimedia application, media synchronization, multimedia system environment, multimedia system architecture and components, distributed multimedia systems. 01076532 การเรียนรูของเครื่อง MACHINE LEARNING วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE 3 (3-0-6) ศึกษาถึงเทคนิคในการสรางโปรแกรมในการเรียนรู เชน การสรางแผนผังตนไมสําหรับการตัดสินใจ โครงขาย นิวรอล การกระจายของความนาจะเปน การเรียนรูแบบไมมีผูดูแล และการเรียนรูแบบมีผูดูแล นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการ ประยุกตความรูกับการเรียนรูและการเรงการเรียนรู The course mainly focuses on the techniques of creating learning programs; e.g., decisions tree, neural networks, probability distribution, unsupervised and supervised learning. In addition, learning by applying knowledge and speed-up learning are included in this course. 3 (3-0-6) 01076533 ระบบผูเชี่ยวชาญ EXPERT SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE การแทนขอมูลเพื่อใชในงานอนุมานโดยคอมพิวเตอร หวงคําตอบ และการคนหา ตรรกและการวินิจฉัยจากเหตุ ไปสูผล การวินิจฉัยจากผลไปสูเหตุ และความไมแนนอน ระบบอนุมานซึ่งกํากับโดยรูปแบบ สถาปตยกรรมของระบบ ผูเชี่ยวชาญ การรวบรวมความรู การประเมินผลระบบผูเชี่ยวชาญ A study of internal representation and inference, solution spaces and searches, logic and deduction, abduction and uncertainty, pattern-directed inference system, the architecture of expert systems, knowledge acquisition and expert system evaluation. 01076534 การรูจํารูปแบบ 3 (3-0-6) PATTERN RECOGNITION วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE การแทนขอมูลรูปภาพ การแบงภาพออกเปนสวนๆ การปรับปรุงขอมูลภาพ การหาขอมูลลักษณะที่สําคัญ การ แปลงภาพเปนรหัสขอมูล วิธีการรูจําภาพโดยใชการตัดสินใจทางสถิติทางสถิติ การตัดสินใจแบบเบยที่มีความผิดพลาดนอย ที่สุด และแบบอื่นที่นอกเหนือจากวิธีการของเบย การรูจําภาพโดยใชหลักการทางภาษา การจําขอมูลภาพแบบการวิเคราะห โครงสรางและแบบผสม เทคนิคการเรียนรูของคอมพิวเตอร A study of data and pattern representation, segmentation, data enhancement, features extraction, pattern and textures, statistical decision methods, bay’s optimal decisions and beyond bay’s, formal linguistic methods, structural and hybrid methods and learning techniques. - 83 - 3 (3-0-6) 01076535 การรูจําเสียงพูด SPEECH RECOGNITION วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE ทบทวนคณิตศาสตรที่ใชในการรูจําเสียงพูด การกําเนิดเสียงพูด การไดยิน การวิเคราะหเสียงพูด การใหรหัส เสียงพูด รหัสการทํานายเสียงพูดแบบเชิงเสน การสังเคราะหเสียงพูด และ การรูจําเสียงพูดของมนุษย A review of mathematics for speech recognition, pronunciation, hearing, speech analysis, speech encoding, linear speech prediction code, speech synthesis and human speech recognition. 3 (3-0-6) 01076536 คอมพิวเตอรกราฟกส COMPUTER GRAPHICS วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM แนะนําระบบคอมพิวเตอรกราฟกเบื้องตน อุปกรณอินพุทเอาตพุท การหาทางเดินของจุดจากภาพ การแปลงใน 2 มิติ การเคลื่อนที่ การหมุน การสะทอน การตัดเล็ม แนวความคิดการกําหนดกรอบหนาตาง อัลกอริทึมการตัด การแปลง จากวินโดวไปยังวิวพอยน แนวความคิดการประมวลผลใน 3 มิติ การแสดงภาพใน 3 มิติ การแปลงใน 3 มิติ การมองใน 3 มิติ การคํานวณหาเสนประและพื้นผิวที่มองไมเห็น การใหระดับแสงและแสงสีกับวัตถุ การประยุกตใชงานของคอมพิวเตอร กราฟกส This course provides an overview of graphic systems, input-output devices, scan-conversion, twodimensional transformations, translation, scaling, rotation, reflection, shearing, windowing concepts, clipping algorithms, window-to-viewport transformation, three-dimensional concepts, three-dimensional representations, three-dimensional transformations, three-dimensional viewing, hidden-surface and hidden-line removal, shading and color models and application of computer graphics. 3 (3-0-6) 01076537 หลักทฤษฎีของปญญาประดิษฐ THEORETICAL ASPECTS OF ARTIFICIAL INTELLIGENCE วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE วิชานี้มุงเนนหลักทฤษฎีทางดานปญญาประดิษฐซึ่งครอบคลุมเนื้อหา หลักตรรกศาสตร แอบดักชั่น การอนุมาน การอุปมาน การพิสูจนทฤษฎีโดยวิธีเรโซลูชั่น การโปรแกรมเชิงตรรก เมตาลอจิก การเปลี่ยนความเชื่อ ตรรกศาสตรของการ สื่อสารระหวางเอเจนต ตรรกศาสตรของการกระทํา ตรรกศาสตรของเวลา ฐานขอมูลแบบอนุมาน การคิดหาเหตุผลโดยใช ความนาจะเปน และหลักการของเจเนติกอัลกอริธึม This course provides theoretical treatment of an artificial intelligence. It covers first-order logic, abduction, deduction, induction, resolution theorem proving, logic programming, metalogic, belief revision, logic - 84 - of multi-agent communication, logic of action, temporal logic, deductive databases, probabilistic reasoning, and genetic algorithm. 01076538 ปญญาประดิษฐประยุกต 3 (3-0-6) APPLIED ARTIFICIAL INTELLIGENCE วิชาบังคับกอน : 01076511 ปญญาประดิษฐ PREREQUISITE : 01076511 ARTIFICIAL INTELLIGENCE เนื้อหาวิชาครอบคลุมการประยุกตใชตรรกศาสตรกับปญญาประดิษฐ การสื่อสารระหวางเอเจนตหลายๆ ตัว การคนหาที่ชาญฉลาด การวางแผนขั้นสูง การเรียนรูขั้นสูง การเขาใจภาษาธรรมชาติ ระบบผูเชี่ยวชาญ การประยุกตใช โครงขายนิวรอลและเจนเนติอัลกอริทึม การประยุกตใชปญญาประดิษฐในคอมพิวเตอรสาขาอื่น ๆ เชน วิศวกรรมซอฟตแวร การสื่อสารคอมพิวเตอร การจัดการฐานขอมูล และอื่นๆ This course covers applications of logic in AI, communication of multi-agent, intelligent search, advanced planning, advanced learning, natural language understanding, expert systems, applications of Neural Nets and genetic algorithm in AI, and applications of AI to other related computing areas, such as software engineering, computer networks and communication, database management, etc. 3 (3-0-6) 01076539 การจําลองระบบดวยคอมพิวเตอร COMPUTER SIMULATION วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM แนะนําถึงพื้นฐานของการจําลองแบบและการจําลองระบบ ทั้งในระบบที่ตอเนื่องและไมตอเนื่อง เพื่อจะใชใน การแกปญหาและชวยในการตัดสินใจในสาขาตาง ๆ เนื้อหาประกอบดวยโมเดลทางสถิติ ทฤษฎีแถวคอย การสรางการสุม แบบตาง ๆ ภาษาที่ใชในการจําลอง เทคนิคการจําลองดวยดิจิตอล วิธีการแบบมอนติคาโล การออกแบบและวิเคราะห การ ทดลอง การทวนสอบ และการตรวจสอบความถูกตองของการจําลองแบบ An introduction to the basic aspects of modeling and simulation, both continuous and discrete systems, applied to problem solving and decision making in any area. The topics include statistical models, queuing theory, random variant generation, simulation languages, digital simulation techniques, Monte Carlo method, design and analysis of experiments, verification and validation of simulation models. 3 (3-0-6) 01076540 ทัศนศาสตรคอมพิวเตอร COMPUTER VISION วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้จะแนะนําทัศนศาสตรคอมพิวเตอร โดยจะอธิบายถึงฟงกชันภาพและเรขาคณิตของภาพ อุปกรณที่ เกี่ยวของกับงานทางสาขานี้ การแทนคาในโครงสรางแบบสองมิติและสามมิติ การแปลภาพ การวิเคราะหภาพ และการแจก - 85 - แจงภาพที่เปนดิจิตอล นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึง การตัดสวนภาพ การคนหาลักษณะเดนของภาพ การรูจําภาพ มิติของ ภาพ โมเดลแบบสามมิติ และการวิเคราะหภาพที่เปลี่ยนไปในเวลาตางๆ This course provides an introduction to computer vision. It describes image functions and geometry, imaging devices for computer vision, representation of two-dimensional and three-dimensional structures, interpretation, analysis, and classification of digital images. Topics include methods for: segmentation, feature extraction, recognition, stereo vision, 3-D modeling, and analysis of time varying imagery. 3 (3-0-6) 01076541 เว็บเทคโนโลยี WEB TECHNOLOGY วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้แนะนําแนวคิดพื้นฐาน ประเด็น และเทคนิคที่เกี่ยวของกับการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต เนื้อหาการ เรียนประกอบดวย การออกแบบเว็บ ภาษาเอชทีเอ็มแอล ภาษาเอ็กซเอชทีเอ็มแอล ภาษาจาวาสคริปต เเอชทีเอ็มแอลแบบได นามิก แฟลช แอปเพล็ต แอ็กทีฟเอ็กซ หนารูปแบบที่มีลําดับชั้น (CSS) แบบจําลองวัตถุเอกสาร ภาษาเอ็กซเอมแอล เว็บ เซอรวิส โซป ยูดีดีไอ ดับเบิลยูเอสดีแอล และอาแจ็ก นักศึกษาจะไดเรียนรูวีธีการสรางเว็บไซตทั้งแบบใชเครื่องมือชวยและ แบบไมใชเครื่องมือชวย This course presents introductions to many of the basic concepts, issues and techniques related to designing, developing and deploying Web sites. During the course, students will learn about Web design, HTML, XHTML, JavaScript, Dynamic HTML, Flash, Applets, ActiveX, Cascading Style Sheets (CSS), Document Object Model (DOM), eXtensible Markup Language (XML), Web Services, SOAP, UDDI, WSDL and Asynchronous JavaScript and XML (AJAX). The student will learn how to create sites both manually and through the use of Web site developmental software. 01076542 การเขียนโปรแกรมเครือขาย 3 (3-0-6) NETWORK PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง PREREQUISITE : 01076201 ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING วิชานี้กลาวถึง การเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอระหวางโพรเซส เทคนิคในการทํางานรวมกันระหวางโพรเซส การ บริหารหนวยความจําขั้นสูง การจัดการกับระบบไฟล ความปลอดภัยในการทํางานแบบไคลเอนตเซิรฟเวอร โพรเซสแบบมัล ติเธรด และเทคนิคตาง ๆ ในการสื่อสารผานเครือขาย นอกจากนี้วิชานี้ยังกลาวถึงการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ 32 บิต การ เขียนโปรแกรมแบบ DLL การเขียนโปรแกรมบริการเว็บ การกําหนดความสําคัญกับเธรดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การเขียน โปรแกรมไคลเอนตเซิรฟเวอรโดยใชวินโดวสซอกเก็ต การใชเนมไปปในการสื่อสารระหวางโพรเซส การใชงานคอมโพเนนต แบบกระจายโดยใช DCOM และการเขียนคอมโพเนนตแบบ .NET โดยใช SOAP This course emphasizes on inter-process communication and synchronization techniques, advanced memory management, file system handling, client/server security, multi-threaded process, and various network communication techniques. It also provides practical experience with 32-bit Windows - 86 - application development, including writing Dynamic Link Libraries (DLLs), Windows and Web services, using thread priorities to improve performance, client/server programming with windows sockets, using named pipes for IPC, distributed components using DCOM, and writing .NET-compatible components using SOAP. 01076543 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเครือขาย NETWORK PROGRAMMING LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง PREREQUISITE : 01076201 ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076542 การเขียนโปรแกรมเครือขาย The experiments related to 01076542 Network Programming 1 (0-3-0) 3 (3-0-6) 01076544 การเขียนโปรแกรมอินเตอรเน็ต INTERNET PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM เนื้อหาของบทเรียนแนะนําเกี่ยวกับเทคโนโลยีของอินเตอรเน็ต การประยุกตและการพัฒนาสื่อทางอินเตอรเน็ต ซอฟตแวรที่เกี่ยวของ รวมทั้งโครงสรางพื้นฐานของเน็ตเวอรกที่จําเปนตอการออกแบบและสรางเว็บ วิชานี้จะเริ่มจากพื้นฐาน โดยศึกษาโพรโตคอล HTTP และศึกษากลไกการจัดการการรองขอในเว็ปเซิรฟเวอร จากนั้นจะกลาวถึงการเขียนโปรแกรม แบบ CGI และการสรางหนาเว็ปแบบพลวัต ศึกษาถึงโมดูลบนเซิรฟเวอร การใชงานคุกกี้ การติดตอเชื่อมโยงกับฐานขอมูล การปรับแตงประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใชงาน นอกจากนั้นยังกลาวถึงการเขียนโปรแกรมในฝงของบราวเซอร อีกดวย แตในวิชานี้จะเนนหนักไปที่การเขียนโปรแกรมในฝงของเซิรฟเวอร This course provides an overview of Internet technologies, which include development of Internet applications and media, Internet software tools, and introductions to network infrastructures necessary for web publishing and design. The course begins with the basics such as HTTP protocol and how a web server handles requests, then expands into a series of topics, including CGI and dynamic page programming, server modules, cookies, database integration, performance, and security. Although there are some materials on client-side (browser) programming, the course emphasize on the server side. 01076545 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต INTERNET PROGRAMMING LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076544 การเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต The experiments related to 01076544 Internet Programming 1 (0-3-0) - 87 - 01076546 การโปรแกรมเว็บเซอรวิสส 3 (3-0-6) WEB SERVICES PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM เว็บเซอรวิสสเปนโปรแกรมประยุกตระดับองคกรบนพื้นฐานเว็บที่ใชมาตรฐานเปดเอ็กซเอ็มแอล และโปรโตคอล สื่อสารในการแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครื่องไคลเอ็นทที่เรียกใช วิชานี้กลาวถึงหลักการ โครงสรางของเว็บเซอรวิสส มาตรฐาน เว็บเซอรวิสสที่ใชภาษาเอ็กซเอ็มแอล เชน เอสโอเอพี ดับเบิลยูเอสดีแอล และยูดีดีไอ คอมโพเนนทตางๆ การพัฒนาและการ ติดตั้งโปรแกรมประยุกตเว็บเซอรวิสส Web services are web-based enterprise application that use open xml-based standards and transport protocols to exchange data with calling clients. This course covers concepts and structures of web services, XML-based standards, e.g., SOAP, WSDL, and UDDI, enterprise components, and the developments of web services applications. 01076547 การออกแบบการสื่อสารกับมนุษย 3 (3-0-6) HUMAN COMPUTER INTERACTION วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM แบบจําลอง และ วิธีการ ของการสื่อสาร การใชงานระบบออกแบบการเชื่อมตอ การพิจารณาผูใช การนําเสนอ ทางสายตา หลักการออกแบบ วิธีการออกแบบสวนเชื่อมตอ แนวทางการใชประโยชน การประเมินผล การพิจารณาในเชิง สังคม การใชงานเปนกลุม การใชมัลติมีเดีย และมุมมองในการใชสื่อ Models & methods of interaction, practical use of interface development systems, user considerations, visual presentation, design principles, interface design methods, implementation issues, evaluation. Societal considerations, groupware, multimedia, media perspectives. 01076548 เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 3 (3-0-6) ELECTRONIC BUSINESS TECHNOLOGY วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM ภาพรวมของเทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวยการใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ ออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชั่นแบบธุรกิจกับธุรกิจ ผลกระทบของการออกแบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธของธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส การวางแผน นํามาใชงาน และการปฏิบัติการ Overview of electronic business technology including use of information technology tools to design and develop business-to-business applications. Impact of information technology design on electronic business strategy, planning, implementation, and operation 01076549 สถาปตยกรรมซอฟตแวรระดับองคกร 3 (3-0-6) - 88 - ENTERPRISE SOFTWARE ARCHITECTURE วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้จะเสริมและขยายแนวคิดในการเขียนโปรแกรมแบบไคลเอนตเซิรฟเวอร สําหรับใชในระดับองคกร โดยจะ กลาวถึงเทคโนโลยีจาวาบีนสในระดับองคกร เชน เจเอ็นดีไอ อีเจบี และอีเจบีคอนเทนเนอร นอกจากนั้นยังกลาวถึงการใชงาน คอบรา เอ็กเอมแอล และ เอ็กแอสแอลที สําหรับการนําเสนอขอมูลและการสื่อสาร วิชานี้ยังศึกษารูปแบบของแอปพลิเคชันที่ ใชในการออกแบบสถาปตยกรรมระดับองคกร สุดทายวิชานี้ยังกลาวถึงประเด็นใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับเว็บแอปพลิเคชั่นที่ใช งานในระดับองคกร This course reinforces and extends client-server programming concepts to enterprise applications. It introduces Enterprise Java Bean technologies such as JNDI, EJBs and EJB Containers. It explores the current use of Common Object Request Broker Architecture (CORBA), XML and XSLT for data representation and communication. The course studies the application of patterns in the design of enterprise architectures. Finally, the course introduces emerging topics related to Web enterprise applications. 01076550 หลักการของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร 3 (3-0-6) FOUNDATION OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEMS วิชาบังคับกอน : 01076206 โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม PREREQUISITE : 01076206 DATA STRUCTURE AND ALGORITHM วิชานี้กลาวถึงแนวคิดและเทคโนโลยีของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร โดยศึกษาแหลงขอมูลทางอวกาศ แบบจําลอง และโครงสรางขอมูลทางอวกาศ การบริการฐานขอมูลทางอวกาศ ระบบนําเสนอแผนที่ การใชรหัสเชิงภูมิศาสตร และการอางอิงทางภูมิศาสตร การวิเคราะหทางอวกาศ การดูขอมูลแผนที่ภาพถาย การใชแอปพลิเคชันของระบบสารสนเทศ เชิงภูมิศาสตร เชน การหาตําแหนง การนําทาง การหาเสนทาง และศึกษาซอฟตแวรระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตรที่ใชในเชิง พาณิชย Introduction to geographic information system (GIS) concept and technology including spatial data sources, spatial data models and structures, spatial database management, map projection systems, geocoding and georeferencing, spatial analysis, spatial data visualization (maps), GIS applications (e.g., address-location finding, navigation, routing), and commercial GIS software packages. 01076551 การจัดการดานการบริการของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 (3-0-6) IT SERVICE MANAGEMENT วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE มาตรฐานการจัดการสารสนเทศ (Information Technology Infrastructure Library, ITIL) และคุณภาพ กระบวนการ ITIL การจัดการโตะบริการ การจัดการเหตุการณ การจัดการปญหา การจัดการขอกําหนด การจัดการการ เปลี่ยนแปลง การจัดการความพรอมใชงาน การจัดการความสามารถในการรองรับงาน การจัดการระดับการใหบริการ การ - 89 - จัดการดานการเงินของระบบสารสนเทศ การจัดการความสามารถในการใหบริการธุรกิจ การจัดการการใหบริการสารสนเทศ อยางตอเนื่อง การจัดการดานความปลอดภัย Information Technology Infrastructure Library (ITIL) and Quality. ITIL Processes. Service Desk Management. Incident Management. Problem Management. Configuration Management. Change Management. Release Management. Availability Management. Capacity Management. Service Level Management. IT Services Financial Management. Business Capacity Management. IT Service Continuity Management. Security Management. 01076552 ความปลอดภัยของสารสนเทศ 3 (3-0-6) INFORMATION SECURITY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE โครงสรางของ ISO 17799 การประเมินและ ความเสี่ยง นโยบายดานความปลอดภัย การจัดระบบความ ปลอดภัยของสารสนเทศ การบริหารความปลอดภัยของสินทรัพยสารสนเทศ ความปลอดภัยของบุคลากร ความปลอดภัย ดานกายภาพและสิ่งแวดลอม การควบคุมการเขาถึง การไดมา การพัฒนา และการดูแลรักษาระบบสารสนเทศ การจัดการ เมื่อเกิดเหตุการณดานความปลอดภัยของสารสนเทศ การจัดการการใหบริการธุรกิจอยางตอเนื่อง ความสอดคลองกับกฏ ระเบียบตางๆ Structure of ISO 17799. Risk Assessment and Treatment. Security Policy. Organizing Information Security. IT Asset Security Management. Human Resources Security. Physical and Environmental Security. Access Control. Information System Acquisition, Development and Maintenance. Information Security Incident Management. Business Continuity Management. Compliance. 3 (3-0-6) 01076553 การวิจัยดําเนินงาน OPERATION RESEARCH วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE แนะนําวิธีทางวิทยาศาสตรของการวิจัยดําเนินงาน โปรแกรมเชิงเสน โปรแกรมไดนามิกส ทฤษฎีเกมส ทฤษฎี แถวคอย การจําลองสถานการณ การวิเคราะหชวยงานแบบ CPM และ PERT ศึกษาการประยุกตของเทคนิคสําหรับงาน ทางดานอุตสาหกรรม An introduction to operation research methods, linear programming, dynamic programming, game theory, queuing theory, simulation, CPM and PERT, operation research techniques applied to industrial planning control and management. 01076554 กฏหมายและจริยธรรมสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอร LAW AND ETHICS IN COMPUTER ENGINEER วิชาบังคับกอน : ไมมี 3 (3-0-6) - 90 - PREREQUISITE : NONE วิชานี้กลาวถึงขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับจริยธรรมในการใชงานระบบสารสนเทศ ประกอบดวย การสรางเนื้อหา การสงเนื้อหา และ การใชการศึกษา และนอกจากนั้นวิชานี้ยังศึกษากฏหมายและขอกําหนดตางๆ ของวงการคอมพิวเตอร และการใชคอมพิวเตอรในประเทศไทย This course provides information on Information Systems Ethics (Cyber ethics) including content, delivery, and pedagogy. The course studies the laws and regulations of the computer industry and the use of computers in Thailand. กลุมวิชาเลือกสาขาเครือขาย 01076601 เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน 3 (3-0-6) INTRODUCTION TO LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS วิชานี้จะกลาวถึงเครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวาง โดยศึกษาตั้งแตเรื่องของสายสัญญาณ และระบบ การเดินสายสัญญาณ อุปกรณทวนสัญญาณ อุปกรณหาเสนทาง บริดจ สวิตซ ศึกษาสถาปตยกรรมที่ใชในเครือขายทองถิ่น เชน อีเทอรเน็ต โทเคนริง เอฟดีดีไอ เอทีเอ็ม ฯลฯ ศึกษาโครงรางของเครือขาย และการออกแบบเครือขายเบื้องตน ศึกษาการ หาเสนทางในเครือขายทองถิ่น การสรางเครือขายเสมือน ศึกษาโพรโตคอลตาง ๆ ที่ใชในระบบเครือขายทองถิ่น นอกจากนั้น ยังศึกษาเครือขายแบบกวางเบื้องตน ศึกษาสถาปตยกรรมที่ใชในเครือขายแบบกวาง เชน เฟรมรีเลย ไอเอสดีเอ็น เคเบิล โมเด็ม ดีเอสแอล This course introduces local area network and wide area network. Students will study cabling and cabling system, repeater, router, bridge, and switch. They will study local area network architecture such as Ethernet, Token ring, FDDI, ATM, etc and also network topology and basic network design. In addition, they will study routing in local area network, virtual LAN and network protocol in local area network. This topics study wide area network, wide area network architecture such as Frame Relay, ISDN, Cable Modem and DSL (Digital Subscriber Line). 1 (0-3-0) 01076602 ปฏิบัติการเครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวาง LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076601 เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน The experiments related to 01076601 Introduction to Local and Wide Area Networks 01076603 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซขั้นสูง ADVANCED UNIX PROGRAMMING 3 (3-0-6) - 91 - วิชาบังคับกอน : 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี PREREQUISITE : 01076221 TCP/IP NETWORKS กลาวถึงการออกแบบและการพัฒนาโปรแกรมที่มีการสื่อสารระหวางกันผานเครือขายคอมพิวเตอร ตามแนวคิด การสื่อสารระหวางโพรเซส (ไอพีซี) และแนวคิดอื่นๆ อาศัยชองทางการสื่อสารตั้งแตโพรโตคอลระดับนําสงขอมูล เชน บีเอสดี ซ็อกเก็ต เปนตน จนถึงโพรโตคอลระดับประยุกต เชน เอฟทีพี เอชทีทีพี เอสเอสแอล และอารพีซี เปนตน The course describes the design and development of computer-network communicated programs using the Interprocess Communication (IPC) and other concepts, along with communication channels from transport layer protocols e.g. BSD Socket to application layer protocols e.g. FTP, HTTP, SSL and RPC. 01076604 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซขั้นสูง ADVANCED UNIX PROGRAMMING LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี PREREQUISITE : 01076221 TCP/IP NETWORKS ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076605 การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซขั้นสูง The experiments related to 01076605 Advanced UNIX Programming 1 (0-3-0) 01076605 เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต 3 (3-0-6) INTERNET TECHNOLOGY วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS ศึกษาสถาปตยกรรม การใชงาน การใหบริการ และโพรโตคอลตาง ๆ ในเครือขายอินเตอรเน็ต เนื้อหาวิชาจะ ประกอบดวย เทคโนโลยีที่ใชในการสรางเว็บทั้งแบบคงที่และแบบพลวัต การเชื่อมตอของเว็บและสถาปตยกรรมของ อินเตอรเน็ต การเชื่อมตอระหวางอินเตอรเน็ตกับระบบสื่อสารอื่น ๆ เชน โทรทัศน โทรศัพท การทํางานของบริการตาง ๆ ใน อินเตอรเน็ต ระบบการสงขอความและพูดคุย การคนหาในอินเตอรเน็ต การประมูลและการซื้อขายในอินเตอรเน็ต การทํา ธุรกิจในอินเตอรเน็ต เอเจนตในอินเตอรเน็ต ระบบสื่อผสม การสงภาพ และเสียงในอินเตอรเน็ต การสงขอมูลแบบมัลติแคสต และเครือขาย MBONE เทคโนโลยีแบบพุช และระบบความปลอดภัยในอินเตอรเน็ต This subject studies architecture, application, services and protocols of Internet network. The course describes world wide web technology (both static and dynamic), web connection and Internet architecture, connectivity with other communication channels (such as television, telephone), Internet services operation, messaging and chat system, Internet search engine, Internet auction and trading, E-business, internet agent, multimedia system, voice and video broadcasting, multicast communication and MBONE, push technology and Internet security 01076606 การประมวลผลบนอุปกรณพกพาและการสื่อสารไรสาย MOBILE COMPUTING AND WIRELESS COMMUNICATION วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) - 92 - PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS วิชานี้เหมาะสําหรับผูสนใจการทํางานของอุปกรณพกพาตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ พีดีเอ ปาลมท็อป และ คอมพิวเตอรโนตบุก ในการทํางานรวมกับเครือขายในการสรางไฟล ฐานขอมูล และระบบไคลเอนตเซิรฟเวอรบนเว็บ ใน สภาพแวดลอมแบบไรสาย วิชานี้จะกลาวถึงแนวคิดพื้นฐานของการประมวลผลบนอุปกรณพกพา รวมถึงสถาปตยกรรมดาน ซอฟตแวร และระบบสนับสนุน การแทนขาวสาร การเผยแพรและการจัดการ การจัดการที่อยู การทํางานรวมกันและการกูคืน นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึงเทคโนโลยีการสื่อสารไรสาย โพรโตคอลของเครือขายแบบเซลลูลาร โมบายไอพี และการทํางาน ของโพรโตคอลทีซีพีในสภาพแวดลอมแบบไรสาย This course is offered for those who are interested in knowing how mobile devices (mobile phones, PDA, palmtops, and notebooks) can work with fixed network computers in building file, database and web client-server systems in wireless environments. This course introduces fundamental concepts of mobile computing. These include software architecture, system support (for dealing issues such as disconnected operations, weak connectivity, broadcast, and mobility), information representation, dissemination and management, location management, concurrency and recovery, etc. The course also describes wireless transmission technologies, cellular network data protocols , Mobile IP and TCP in a wireless environment. 01076607 เครือขายโทรคมนาคม 3 (3-0-6) TELECOMMUNICATION NETWORKS วิชาบังคับกอน : 01076207 การสื่อสารขอมูล PREREQUISITE : 01076207 DATA COMMUNICATION โครงสรางพื้นฐานของระบบเครือขายโทรคมนาคม ประเภทของตัวกลางและอุปกรณในระบบเครือขาย กรรมวิธี การเขารหัสขอมูล และการสงผานขอมูล การสื่อสารแบบแถบความถี่เบสแบนด และแถบความถี่บรอดแบนด กรรมวิธีทาง สัญญาณ โปรโตคอลการติดตอและการเชื่อมตอระบบเครือขาย การวางแผนและจัดการเครือขายโทรคมนาคม A study of telecommunication infrastructures, types of telecommunication networks, media and devices, data coding and transmission, base band communication and broadband communication, signaling method, communication protocols, telecommunication network planning and management. 01076608 การออกแบบระบบเครือขายแบบกวาง 3 (3-0-6) WIDE AREA NETWORK DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS วิชานี้จะแนะนําแนวคิดพื้นฐานของระบบเครือขายแบบกวาง โดยจะอธิบายวิธีการในการสรางเครือขายแบบ กวางที่เชื่อมตอระบบเครือขายเขาดวยกัน โดยพิจารณาถึงความตองการใชงาน และออกแบบโดยคํานึงถึงเทคโนโลยีที่ เหมาะสมที่สุด เนื้อหาวิชาจะกลาวถึง เทคนิคออกแบบโดยใชมูลคาโครงขายที่ดีที่สุด การเลือกใชเทคโนโลยี เชน ไอเอสดีเอ็น เฟรมรีเลย เอทีเอ็ม เอสเอ็มดีเอส โซเน็ต และซีพีดีพี นอกจากนั้นวิชานี้ยังรวมถึงการบริการระบบโดยอาศัยโพรโตคอลตาง ๆ อีกดวย - 93 - This course gives an introduction to basic concepts of Wide Area Networks (WAN). It defines a methodology to construct a WAN and internetworking by determining requirements and designing the network structure to choose the most appropriate technologies and evaluating the results. The topics include circuit cost optimization techniques, selection among transmission technologies such as ISDN, Frame Relay, ATM, SMDS, SONET/SDH, and CDPD, as well as system management protocols. 01076609 การออกแบบเครือขายในองคกร 3 (3-0-6) CAMPUS NETWORK DESIGN วิชาบังคับกอน : 01076601 เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน PREREQUISITE : 01076601 INTRODUCTION TO LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS วิชานี้จะกลาวถึงระบบเครือขายภายในองคกร การสรางระบบเครือขายภายในองคกร โดยใชเทคโนโลยีสวิตซ แบบหลายชั้น ที่ทํางานผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตความเร็วสูง วิชานี้จะกลาวถึงทั้งแนวคิดในเรื่องของการหาเสนทาง และการสวิตซ โดยครอบคลุมทั้งการออกแบบโดยใชเทคโนโลยีเครือขายในระดับชั้นที่ 2 และ 3 นักศึกษาจะไดศึกษาการใช งานเครือขายเสมือน สแปนนิ่งทรี การหาเสนทางระหวางเครือขายเสมือน เทคโนโลยีการซ้ําซอนของเกทเวย เครือขายไรสาย โทรศัพทผานเครือขาย และความปลอดภัยในเครือขาย The main objective of this course is to provide an overview of a campus network, building a campus network using multilayer switching technologies over high speed Ethernet. This course includes both routing and switching concepts, cover both layer 2 and layer 3 technologies. It also teaches student a virtual LAN, Spanning tree, interVLAN routing, gateway redundancy technologies, wireless LAN, IP telephony and security feature in a switched networks. 01076610 ปฏิบัติการดูแลและบริหารระบบเครือขาย 1 (0-3-0) NETWORK ADMINISTRATOR AND MANAGEMENT LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076601 เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน PREREQUISITE : 01076601 INTRODUCTION TO LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS วิชาปฏิบัติการนี้ จะกลาวถึงขอมูลและทักษะที่จําเปนตอการทําหนาที่เปนผูดูแลระบบเครือขาย หรือ ผูจัดการ ระบบเครือขาย ในสภาพแวดลอมของศูนยสารสนเทศ วิชานี้จะใหนักศึกษาในออกแบบ ปฏิบัติ และจัดการระบบเครือขาย ตั้งแตระบบเครือขายทองถิ่น จนถึงเครือขายอินเตอรเน็ต นอกจากนั้นยังศึกษาถึงพื้นฐานทางดานการสื่อสาร เทคนิคในการ เชื่อมตอ ตลอดจนถึงแอปพลิเคชันที่ใชในการบริหารเครือขายอีกดวย A study of the necessary information and skills to perform competently in the role of network administrator or network system manager in an information center environment. It also introduces students the design, operation, and management of networked systems from local area networks to the Internet. Includes communications concepts, technical and application issues with a focus on managing a network. 01076611 ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร COMPUTER SECURITY 3 (3-0-6) - 94 - วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS ศึกษาเทคนิคของการรักษาความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร การออกแบบนโยบายความปลอดภัย การ แบงกลุมของขอมูลและการควบคุมการเขาถึง การออกแบบโครงสรางพื้นฐานของความปลอดภัย การแบงสวนเครือขาย การ วิเคราะหความเสี่ยง เครือขายสวนตัวเสมือน การเพิ่มความแข็งแกรงใหระบบ การประเมินหาจุดออน ระบบการตรวจสอบ และปองกันผูบุกรุก ไฟลวอลล ความปลอดภัยในระดับแอปพลิเคชัน โครงสรางพื้นฐานของกุญแจสาธารณะ การบริหาร ความปลอดภัย และไวรัสคอมพิวเตอร A study of computer security techniques, security policy design, information classification and access control, security infrastructure design, network partitioning, risk analysis, virtual private network, platform hardening, vulnerability assessment, intrusion detection systems, firewall, application security, public key infrastructure, security management and computer virus 01076612 ความปลอดภัยในระบบเครือขาย 3 (3-0-6) NETWORK SECURITY วิชาบังคับกอน : 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี PREREQUISITE : 01076221 TCP/IP NETWORKS วิชานี้จะกลาวถึงการบุกรุกและการรักษาความปลอดภัยในระบบเครือขายคอมพิวเตอร ประกอบดวย ระบบ การรักษาความปลอดภัยเบื้องตน การเขารหัสลับ ทั้งในระบบกุญแจเดี่ยว และระบบกุญแจคู รวมไปถึงเรื่องลายเซ็นดิจิตอล โดยครอบคลุมถึงการพิสูจนสิทธิ์แบบตางๆ การยืนยันตัวบุคคล การรับรองสิทธิ์ ใบรับรองสิทธิ์ และการบริหารระบบกุญแจ รวม นอกจากนั้นยังกลาวถึงระบบเมลแบบปลอดภัย ระบบเครือขายไอพีที่มีการเขารหัส การบุกรุกที่อาจเกิดขึ้นในระบบ เครือขาย รูปแบบของการบุกรุก การปองกันโดยใชระบบไฟลวอลล และซอฟตแวรรักษาความปลอดภัยตางๆ This course describes intrusion in computer networks and network security. It covers basic computer security, basic cryptography (both symmetric key and asymmetric key), digital signature, authentication, Kerberos, personal identifier, certificate and key management. This course also emphasizes on mail security, IP security, web security, network intrusion, signature of attack, intrusion detection and prevention using firewall and other security software. 01076613 ปฏิบัติการความปลอดภัยในระบบครือขาย NETWORK SECURITY LABORATORY วิชาบังคับกอน : 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี PREREQUISITE : 01076221 TCP/IP NETWORKS ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา 01076612 ระบบความปลอดภัยของเครือขาย The experiments related to 01076612 Network Security 1 (0-3-0) 01076614 การจัดการศูนยขอมูล DATA CENTER MANAGEMENT 3 (3-0-6) - 95 - วิชาบังคับกอน : 01076213 เครือขายคอมพิวเตอร PREREQUISITE : 01076213 COMPUTER NETWORKS วิชานี้แนะนําภาพรวมของศูนยขอมูล พิจารณาระบบธุรกิจในเนื้อหาของศูนยขอมูล แนะนําสวนประกอบของ ศูนยขอมูลและเครือขาย ศึกษาเปาหมาย ลักษณะ และความตองการศูนยขอมูล อธิบายลักษณะแอปพลิเคชันแบบทรีเทียร และการทํางาน อธิบายสวนประกอบที่ใชในศูนยขอมูล และ อธิบายลักษณะการจัดการศูนยขอมูล This course provides an introductory overview of the data center. It examines the business system in the context of the data center, and introduces the students to common components of business system and networks. State the purpose, characteristics, and requirements of a Data Center. Describe the three tiers of a Business System Application and what purpose each serves. Describe components commonly found in a Data Center. Describe Data Center Management Characteristics 18. จํานวนเอกสาร สถาบันฯ ไดจัดสงเอกสารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง 2552) แกสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 5 เลม พรอมมติสภาสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - 96 - 19. เหตุผลในการขอปรับปรุงหลักสูตร การปรับปรุงแกไขหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร ฉบับป พ.ศ. 2546 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ________________________________________________________________ 1. หลักสูตรฉบับนี้ ไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ...10 มิถุนายน 2546.......... 2. สภามหาวิทยาลัย/สถาบัน ไดอนุมัติการปรับปรุงแกไขครั้งนี้แลว ในคราวประชุม ครั้งที่ ............... / ................ เมื่อวันที่ .............................................. 3. หลักสูตรปรับปรุงแกไขนี้ เริ่มใชกับนักศึกษารุนปการศึกษา 2552 ตั้งแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 เปนตนไป 4. เหตุผลในการปรับปรุงแกไข เนื่องจากวิทยาการในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องและรวดเร็ว การผลิตบัณฑิต ที่สามารถ ติดตามความกาวหนาในสาขานี้ไดตองปูพื้นฐานความรูในเฉพาะสาขา อยางมั่นคง โดยไมเนนถึงองคความรูในดาน กวาง ดังนั้นจึงมีทั้งขอดีและขอเสีย ผลจากการปรับปรุงหลักสูตรนี้ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจะมีความรูเฉพาะดาน ทํา ใหทักษะการแกปญหาทางวิศวกรรมจะมีขอจํากัดเฉพาะดานลง แตขอดีคือ บัณฑิตจะมีความพรอมในการรับและ ติดตามวิทยาการสมัยใหมในสาขา เปนการเพิ่มศักยภาพ ในการวิจัยและพัฒนาวิทยาการในสาขานี้เปนอยางดี 5. สาระในการปรับปรุงแกไข 5.1. ปรับปรุงคุณสมบัติผูเขาศึกษา 5.2. ตัดโปรแกรมการเรียนแบบเทียบโอน 5.3. วิชาศึกษาทั่วไป มีการปรับปรุงดังนี้ 5.3.1. วิชาภาษาอังกฤษ เพิ่มจํานวนหนวยกิตที่ตองเรียนจาก 6 หนวยกิตเปน 12 หนวยกิต 5.3.2. วิชาเลือกกลุมมนุษยศาสตร เพิ่มจํานวนหนวยกิตของรายวิชาจาก 2 หนวยกิตเปน 3 หนวยกิต และใหเลือก เรียนรวมทั้งหมด 6 หนวยกิต 5.3.3. วิชาเลือกกลุมสังคมศาสตร เพิ่มจํานวนหนวยกิตของรายวิชาจาก 2 หนวยกิตเปน 3 หนวยกิต และใหเลือก เรียนรวมทั้งหมด 6 หนวยกิต 5.3.4. วิชาเลือกกลุมวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร ใหเลือกเรียนทั้งหมด 6 หนวยกิต 5.4. หมวดวิชาเฉพาะ 5.4.1. กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน ตัดรายวิชา 3 (3-0) 01001013 วิศวกรรมไฟฟา ELECTRICAL ENGINEERING 5.4.2. กลุมวิชาบังคับ ตัดรายวิชา 01072112 ปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 1 (0-3) COMPUTER PROGRAMMING LABORATORY - 97 - 01072118 ปฏิบัติการโครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม 1 (0-3) DATA STRUCTURE AND ALGORITHM LABORATORY 5.4.3. กลุมวิชาบังคับเลือก ตัดกลุมวิชานี้ออก เพิ่มเติมวิชาบังคับจํานวน 12 หนวยกิต ดังนี้ 3 (3-0-6) 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN 01076216 ปฏิบัติการระบบดิจิตอลขั้นสูง 1 (0-3-0) ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN LABORATORY 01076219 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 3 (3-0-6) INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN 01076220 ปฏิบัติการวิเคราะหและระบบสารสนเทศ 1 (0-3-0) INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN LABORATORY 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี 3 (3-0-6) TCP/IP NETWORKS 1 (0-3-0) 01076222 ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี TCP/IP NETWORKS LABORATORY 5.4.4. กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา ใหเลือกเรียนจํานวน 12 หนวยกิต และตัดรายวิชา 3 (3-0) 01074105 คอมพิวเตอรชวยการออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก COMPUTER-AIDED DESIGN FOR VLSI 01074106 การประยุกตใชไมโครคอมพิวเตอร 3 (3-0) MICROCOMPUTER APPLICATION 5.5. ปรับหนวยกิตวิชาโครงงาน 1 จาก 3 หนวยกิต เปน 1 หนวยกิต และปรับหนวยกิตวิชาโครงงาน 2 จาก 3 หนวยกิต เปน 2 หนวยกิต 5.6. เพิ่มเติมกลุมวิชาการศึกษาทางเลือกวิชา โดยแบงออกเปน 3 ทางเลือก ไดแก การศึกษาเชิงปฏิบัติการ สหกิจ ศึกษา และ การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ โดยใหนักศึกษาเลือก 1 แนวทางจํานวน 9 หนวยกิต 5.7. เพิ่มเติมวิชาในกลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา จํานวน 11 วิชา ดังนี้ 3 (3-0-6) 01076410 ระบบสมองกลฝงตัว EMBEDDED SYSTEMS 01076541 เว็บเทคโนโลยี 3 (3-0-6) WEB TECHNOLOGY 01076546 การโปรแกรมเว็บเซอรวิสส 3 (3-0-6) WEB SERVICES PROGRAMMING 01076547 การออกแบบการสื่อสารกับมนุษย 3 (3-0-6) HUMAN COMPUTER INTERACTION 01076548 เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 3 (3-0-6) ELECTRONIC BUSINESS TECHNOLOGY - 98 - 01076549 สถาปตยกรรมซอฟตแวรระดับองคกร 3 (3-0-6) ENTERPRISE SOFTWARE ARCHITECTURE 01076550 หลักการของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร 3 (3-0-6) FOUNDATION OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEMS 01076551 การจัดการดานการบริการของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 (3-0-6) IT SERVICE MANAGEMENT 01076552 ความปลอดภัยของสารสนเทศ 3 (3-0-6) INFORMATION SECURITY 01076554 กฏหมายและจริยธรรมสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) LAW AND ETHICS IN COMPUTER ENGINEER 3 (3-0-6) 01076614 การจัดการศูนยขอมูล DATA CENTER MANAGEMENT 6. โครงสรางหลักสูตรภายหลังการปรับปรุงแกไขเมื่อเปรียบเทียบกับโครงสรางเดิม และเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี 2548 ของกระทรวงศึกษาธิการ ปรากฎดังนี้ หมวดวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป - กลุมวิชาสังคมศาสตร - กลุมวิชามนุษยศาสตร - กลุมวิชาภาษาอังกฤษ - กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับ คณิตศาสตร หมวดวิชาเฉพาะ - กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน - กลุมวิชาบังคับ - กลุมวิชาการศึกษาทางเลือก - กลุมวิชาบังคับเลือก - กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา หมวดวิชาเลือกเสรี เกณฑ กระทรวงศึกษาธิการ ไมนอยกวา 30 ไมนอยกวา 84 ไมนอยกวา 6 ไมนอยกวา 120 โครงสรางเดิม 31 2 2 6 21 โครงสรางใหม 30 6 6 12 6 101 16 49 21 15 9 141 103 30 52 6 15 6 139 6.1. ปรับปรุงเนื้อหา แกไขชื่อรายวิชา เพิ่มรายวิชา และตัดรายวิชา ตามตารางดังตอไปนี้ หลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2546) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 38 หนวยกิต หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2552) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เหตุผลในการปรับปรุง - 99 หลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2546) กลุมวิชาสังคมศาสตร 2 หนวยกิต กลุมวิชามนุษยศาสตร 2 หนวยกิต กลุมวิชาภาษา 6 หนวยกิต กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 9 หนวยกิต 01001012 หลักการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร 3 (3-2) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2552) กลุมวิชาสังคมศาสตร 6 หนวยกิต กลุมวิชามนุษยศาสตร 6 หนวยกิต กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 6 หนวยกิต เหตุผลในการปรับปรุง เนนความสําคัญมากขึ้น เนนความสําคัญมากขึ้น ตามขอกําหนดของ สกอ. ตามขอกําหนดของ สกอ. ตัดออกเพื่อความเหมาะสม 90102003 คอมพิวเตอรและการโปรแกรม 3 (3-2- วิชาบังคับในกลุมวิทยาศาสตรกับ 7) คณิตศาสตร หมวดวิชาเฉพาะ 101 หนวยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 103 หนวยกิต กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน 16 หนวยกิต กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน 30 หนวยกิต 01001013 วิศวกรรมไฟฟา 3 (3-2) ตัดออกเพื่อความเหมาะสม กลุมวิชาบังคับ 49 หนวยกิต กลุมวิชาบังคับ 52 หนวยกิต 01072111 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 01076201 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง ปรับขื่อวิชาเพื่อความเหมาะสม 3 (3-0) 3 (3-2-7) 01072112 ปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร ตัดออกเพื่อความเหมาะสม 2 1 (0-3) 01072118 ปฏิบัติการโครงสรางขอมูลและ ตัดออกเพื่อความเหมาะสม อัลกอริทึม 1 (0-3) 01072129 โครงงานคอมพิวเตอร 1 (0-3-0) ตัดออกเพื่อความเหมาะสม 01072130 โครงงาน 1 3 (0-9-0) 01076301 โครงงาน 1 1 (0-3-0) ปรับหนวยกิตและยายไปอยูกลุม การศึกษาทางเลือก 01072131 โครงงาน 2 3 (0-9-0) 01076302 โครงงาน 2 2 (0-6-0) ปรับหนวยกิตและยายไปอยูกลุม การศึกษาทางเลือก กลุมวิชาบังคับเลือก 21 หนวยกิต กลุมวิชาบังคับเลือก 0 หนวยกิต ยกเลิกกลุมวิชาบังคับเลือก ใหวิชาตอไปนี้เปนวิชา เพื่อความเหมาะสม บังคับจํานวน 12 หนวยกิต 01076215 การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง 3 (30-6) 01076216 ปฏิบัติการระบบดิจิตอลขั้นสูง 1 (0-30) 01076219 การวิเคราะหและออกแบบระบบ สารสนเทศ 3 (3-0-6) 01076220 ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบ ระบบสารสนเทศ 1 (0-3-0) 01076221 ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี 3 (3-06) 01076222 ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอ พี 1 (0-3-0) - 100 หลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2546) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2552) กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา 15 หนวยกิต กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา 15 หนวยกิต 01074106 การประยุกตใชไมโครคอมพิวเตอร 3 (3-0) 01076155 คอมพิวเตอรชวยการออกแบบ วงจรรวมขนาดใหญมาก 3 (3-0) 01076410 ระบบสมองกลฝงตัว 3 (3-0-6) 01076541 เว็บเทคโนโลยี 3 (3-0-6) 01076546 การโปรแกรมเว็บเซอรวิสส 3 (3-0-6) 01076547 การออกแบบการสื่อสารกับมนุษย 3 (3-0-6) 01076548 เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 3 (3-0-6) 01076549 สถาปตยกรรมซอฟตแวรระดับองคกร 3 (3-0-6) 01076550 หลักการของระบบสารสนเทศเชิง ภูมิศาสตร 3 (3-0-6) 01076551 การจัดการดานการบริการของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 (3-0-6) 01076552 ความปลอดภัยของสารสนเทศ 3 (3-0-6) 01076554 กฏหมายและจริยธรรมสําหรับวิศวกร คอมพิวเตอร 3 (3-0-6) 01076614 การจัดการศูนยขอมูล 3 (3-0-6) กลุมวิชาการศึกษาทางเลือก 6 หนวยกิต 1. โครงงานพิเศษ ประกอบดวย 01076301 โครงงาน 1 1 (0-3-0) 01076302 โครงงาน 2 2 (0-6-0) 0107xxxx วิชาที่อาจารยที่ปรึกษากําหนดให 3 (3-0-6) รวม 6 (3-9-6) 2. สหกิจศึกษา 01076303 สหกิจศึกษา 6 (0-270-0) 3. การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝกงาน ตางประเทศ แบงเปน 2 แนวทาง โดยนักศึกษาตองเลือก แนวทางใดแนวทางหนึ่ง ดังนี้ 3.1 การศึกษาตางประเทศ สามารถดําเนินการ เทียบโอนหนวยกิตจากสถาบันที่ศึกษาใน เหตุผลในการปรับปรุง ตัดออกเพื่อความเหมาะสม เพื่อใหมีวิชาเลือกมากขึ้น แบงออกเปน 3 แนวทาง เพื่อ นักศึกษาไดเลือกแนวทางการศึกษา ที่เหมาะสมสําหรับตนเอง 1 แนวทาง - 101 หลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2546) หมวดวิชาเลือกเสรี 9 หนวยกิต หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2552) เหตุผลในการปรับปรุง ตางประเทศไดตามประกาศของสถาบันฯ ไมเกิน 6 หนวยกิต 3.2 การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ 01076304 การปฏิบัติการฝกงานตางประเทศ 6 (0-270-0) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ตามขอกําหนดของ สกอ. - 102 - - 103 - ภาคผนวก ก. ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๑ - 104 - - 105 - ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๑ ………………………………… โดยที่ เ ป น การสมควรกํ า หนดให มี ห ลั ก เกณฑ เ กี่ ย วกั บ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ของสถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เพื่อใหสอดคลองกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ (๒) แหงพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา คุ ณ ทหารลาดกระบั ง พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกั บ มติ ส ภาสถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง ในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑ จึงใหวางขอบังคับไวดังนี้ ขอ ๑. ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วา ดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๑” ขอ ๒. ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๒ เปนตนไป ขอ ๓. ใหยกเลิก ๓.๑ ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓.๒ ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา ระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ บรรดาข อ บั ง คั บ ระเบี ย บ คํ า สั่ ง ประกาศ หรื อ มติ อื่ น ใดในส ว นที่ ไ ด กํ า หนดไว แ ล ว ใน ขอบังคับนี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบังคับนี้ ใหใชขอบังคับนี้แทน ขอ ๔. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามขอบังคับนี้ และมีอํานาจในการออกระเบียบ ประกาศ หรือ คําสั่งของสถาบัน ที่ไมขัดหรือแยงกับขอบังคับนี้ตามความจําเปนแลวรายงานใหสภาสถาบันทราบ ในกรณีที่ เกิดปญหาการปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ใหอธิการบดีวินิจฉัยสั่งการใหเปนไปดวยความเหมาะสมตามควรแกกรณี เปนเรื่องๆ ไป ขอปฏิบัติอื่นๆ ที่มิไดกําหนดไวในขอบังคับนี้ ใหปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติมโดยอนุโลม - 106 - หมวด ๑ บททั่วไป ---------------------ขอ ๕. ในขอบังคับนี้ “อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง “นักศึกษา” หมายความวา ผูเขารับการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี ในสถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง “สวนงานวิชาการ” หมายความวา สวนงานวิชาการที่ดําเนินการสอนหลักสูตรปริญญาตรี ในสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง “หัวหนาสวนงานวิชาการ” หมายความวา หัวหนาสวนงานวิชาการที่นักศึกษาสังกัดในสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และใหหมายรวมถึงรองอธิการบดีที่ไดรับมอบหมายให ควบคุมดูแลวิทยาเขตดวย “คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ” หมายความวา คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ ใน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และใหหมายรวมถึงคณะกรรมการประจําวิทยาเขต ดวย “อาจารยประจํา” หมายถึง คณาจารยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง “อาจารยพิเศษ” หมายถึง ผูที่หัวหนาสวนงานวิชาการหรือรองอธิการบดีที่ไดรับมอบหมายให ควบคุมดูแลวิทยาเขตแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน ใหเปนผูสอนนักศึกษา “อาจารยที่ปรึกษา” หมายความวา อาจารยที่ไดรับการแตงตั้งจากหัวหนาสวนงานวิชาการหรือรอง อธิการบดีที่ไดรับมอบหมายใหควบคุมดูแลวิทยาเขตใหทําหนาที่เปนที่ปรึกษาของนักศึกษา หมวด ๒ การจัดการศึกษา ---------------------ขอ ๖. ระบบการจัดการศึกษา มีดังนี้ ๖.๑ การศึกษาในสถาบันใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยในหนึ่งปการศึกษาแบง ออกเปน ๒ ภาคการศึกษาปกติ และภาคฤดูรอน ๖.๒ การศึกษาภาคปกติแตละภาคการศึกษามีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห ๖.๓ การศึกษาภาคฤดูรอน ใหกําหนดระยะเวลา โดยมีสัดสวนเทียบเคียงไดกับการศึกษา ภาคปกติ ๖.๔ การศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ที่จัดสอนในสถาบันแบงออกเปนรายวิชา ปริมาณเนื้อหาของแตละรายวิชาใหเปนไปตามหลักสูตร - 107 - ๖.๕ การวัดผลการศึกษาใชระบบหนวยกิต ซึ่งหนวยกิต หมายถึง หนวยที่แสดงปริมาณ การศึกษาของแตละรายวิชา โดยมีหลักการกําหนดจํานวนหนวยกิต ดังนี้ ๖.๕.๑ ภาคทฤษฎี ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา ๑ ชั่วโมงตอสัปดาห หรือ จํานวนชั่วโมงรวมไมนอยกวา ๑๕ ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต ๖.๕.๒ ภาคปฏิบัติ ใชเวลาฝกหรือทดลอง ๒ ถึง ๓ ชั่วโมงตอสัปดาห หรือจํานวน ชั่วโมงรวม ๓๐ ถึง ๔๕ ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต ๖.๕.๓ รายวิชาที่มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติรวมกัน การกําหนดจํานวนหนวยกิ ตตองเปนไปตามเกณฑที่กําหนดในขอ ๖.๕.๑ และขอ ๖.๕.๒ ๖.๕.๔ การฝกงาน การฝกภาคสนาม การฝกสอน หรือ การฝกอื่น ๆ ที่ใชเวลาไม นอยกวา ๓ ชั่วโมงตอสัปดาห หรือ จํานวนชั่วโมงรวมไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอภาคการศึกษา หรือการไป ฝ ก งานต า งประเทศที่ มี ร ะยะเวลาตั้ ง แต ส องสั ป ดาห ขึ้ น ไป ให นั บ เป น หนึ่ ง หน ว ยกิ ต แต ทั้ ง นี้ ส ามารถ กําหนดใหไมนับหนวยกิตในหลักสูตรการศึกษาได ๖.๕.๕ การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ เชน รายวิชาสหกิจศึกษา เปนตน สถาบันอาจกําหนดหนวยกิตโดยใชหลักเกณฑอื่นไดตามความเหมาะสม โดยใหทําเปนประกาศของสถาบัน ๖.๖ หลักสูตรที่เปดสอนในสถาบัน แบงออกเปน ๓ ประเภท ดังนี้ ๖.๖.๑ หลักสู ตรทั่ วไป หมายถึง หลักสูตรที่มีการดําเนินการเรียนการสอนเปน ภาษาไทย หรือมีบางวิชาในหลักสูตรที่มีการดําเนินการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ และมีอาจารยผูสอน เปนอาจารยประจํา และหรืออาจารยพิเศษ ๖.๖.๒ หลักสูตรภาษาอังกฤษ หมายถึง หลักสูตรทั่วไปหรือหลักสูตรที่ทําขึ้นเฉพาะ โดยมีการดําเนินการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษเทานั้น และมีอาจารยผูสอนเปนอาจารยประจํา อาจารย พิเศษ และหรืออาจารยชาวตางชาติ ๖.๖.๓ หลักสูตรนานาชาติ หมายถึง หลักสูตรที่มีโครงสรางหลักสูตรและวิธีการ สอนที่เปนมาตรฐานสากล มีการดําเนินการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่น ยกเวน หลักสูตรบางหลักสูตรที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันใหดําเนินการเรียนการสอนเปนภาษาไทยได ทั้งนี้อาจารยผูสอนตองเปนอาจารยประจํา หรืออาจารยพิเศษ และตองมีอาจารยชาวตางชาติมารวมสอนดวย และควรเปนหลักสูตรที่มีความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันตางประเทศ อีกทั้งเปนหลักสูตรที่เปดโอกาสให นักศึกษาชาวไทยและชาวตางประเทศไดศึกษารวมกัน สถาบันอาจจัดใหมีหลักสูตรที่มีระบบการศึกษาแบบไตรภาคก็ได ทั้งนี้ใหเปนไป ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไข เพิ่มเติมโดยอนุโลม ๖.๗ ใหมีรหัสประจํารายวิชาของแตละรายวิชาตามที่สถาบันกําหนด - 108 - ๖.๘ ระยะเวลาการศึกษาทุกหลักสูตร ใชระยะเวลาการศึกษาไมเกิน ๒ เทาของระยะเวลา ที่กําหนดไวในหลักสูตร ๖.๙ หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรจะตองผานการพิจารณาจากสภาวิชาการและไดรับ ความเห็นชอบจากสภาสถาบันกอนการเปดสอน ๖.๑๐ สถาบั น อาจจั ด ให มี ห ลั ก สู ต รที่ จั ด การศึ ก ษาเพื่ อ ให ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาได รั บ สอง ปริญญา โดยใหเปนไปตามระเบียบสถาบันวาดวยการจัดการศึกษาสองปริญญา หมวด ๓ การรับเขา การคัดเลือก และคุณสมบัติของนักศึกษา ---------------------ขอ ๗. การรับเขาเปนนักศึกษา กําหนดการและวิธีการรับเขาศึกษาใหเปนไปตามประกาศของสํานัก ทะเบียนและประมวลผล ในแตละปการศึกษา จํานวนนักศึกษาที่จะรับเขาศึกษาและการคัดเลือกใหเปนไปตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจําสวนงานวิชาการ โดยใหสํานักทะเบียนและประมวลผลเปนผูดําเนินการออกประกาศรับสมัครและ ประกาศผลการคัดเลือก ขอ ๘. คุณสมบัติของผูสมัครเขาเปนนักศึกษา ๘.๑ เปน ผู ยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิป ไตย ที่มีพ ระมหากษัต ริย ทรงเป น ประมุข ยกเวนนักศึกษาตางชาติ ๘.๒ เปนผูไมมีโรคติดตอรายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคสําคัญที่เปนอุปสรรคตอ การศึกษา ๘.๓ สําเร็จการศึกษาชั้นประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษา ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเทา (สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีเทียบโอนหรือหลักสูตรตอเนื่อง) ตามหลักสูตรที่ไดรับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ๘.๔ เปนผูที่มีผูปกครอง หรือผูรับรอง ๘.๕ เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย และใหคํารับรองตอสถาบันวาจะตั้งใจศึกษารวมทั้ง จะประพฤติปฏิบัติตนตามขอบังคับ ระเบียบ หรือคําสั่งของสถาบัน ทั้งที่ออกใชบังคับอยูแลวและที่จะออกใช บังคับตอไปโดยเครงครัด ๘.๖ ไมเปนผูที่ถูกใหออกจากสถาบันอุดมศึกษาใดๆ มาแลว เพราะความประพฤติไม เหมาะสม หรือกระทําความผิดตาง ๆ ๘.๗ ไม เ ป น ผู ที่ ถู ก ลงโทษเนื่ อ งจากกระทํ า หรื อ มี ส ว นร ว มกระทํ า ทุ จ ริ ต ในการสอบ คัดเลือกทุกประเภท - 109 - ๘.๘ ไมเปนนักศึกษาของสถาบันหรือผูที่พนสภาพการเปนนักศึกษาของสถาบันโดยมี ภาระหนี้สินผูกพันกับสถาบัน ๘.๙ คุณสมบัติอื่นๆ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ กําหนด โดยใหจัดทําเปนประกาศของสํานักทะเบียนและประมวลผล หมวด ๔ การรายงานตัวเขาเปนนักศึกษา -------------------ขอ ๙. การรายงานตัวเขาเปนนักศึกษาของสถาบัน ผูผานการสอบคัดเลือกและไดรับการประกาศ ชื่อใหเปนนักศึกษาของสถาบันในหลักสูตรตางๆ และมีคุณสมบัติการเปนนักศึกษาของสถาบัน ตามขอ ๘ จะตองรายงานตัวเพื่อเขาเปนนักศึกษาใหมของสถาบัน ตามวัน เวลา และวิธีการที่สถาบันกําหนดไวและ ประกาศใหทราบในแตละปการศึกษาโดยตองกรอกขอมูลที่ถูกตองตรงตามความเปนจริงทุกประการลงใน เอกสารการรายงานตัว พรอมทั้งแนบหลักฐานใหครบถวน มิฉะนั้นจะถือวาไมมีการรายงานตัว ผูผานการสอบคัดเลือกที่ไมสามารถมารายงานตัวเปนนักศึกษาตามวัน เวลา ที่สถาบันกําหนด สถาบัน จะถือวาเปนการสละสิทธิ์ เวนแตจะไดแจงเหตุจําเปนใหสถาบันทราบเปนลายลักษณอักษร และตองมารายงาน ตัวภายใน ๗ วันนับตั้งแตวันที่สถาบันกําหนดใหนักศึกษามารายงานตัว หรือในโอกาสแรกที่นักศึกษาสามารถ ติดตอกับสถาบันได โดยใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล หมวด ๕ การลงทะเบียนวิชาเรียน การชําระคาธรรมเนียมการศึกษา และการรักษาสถานภาพนักศึกษา ------------------ขอ ๑๐. การลงทะเบียนวิชาเรียนและการชําระคาธรรมเนียมการศึกษา มีหลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ ๑๐.๑ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คนต อ งลงทะเบี ย นวิช าเรีย น และชํา ระค า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาทุ ก ประเภทใหครบถวนตามวัน เวลา ที่สถาบันกําหนดไวในปฏิทินการศึกษา สําหรับวิธีการลงทะเบียนวิชาเรียน และขอกําหนดในการลงทะเบียนวิชาเรียน ใหเปนไปตามประกาศของสํานักทะเบียนและประมวลผลในแตละ ภาคการศึกษา กรณี ที่ มี ค วามจํ า เป น นั ก ศึ ก ษาที่ล งทะเบีย นวิช าเรี ย นแล ว สามารถขอผ อ นผั น การชํา ระ คาธรรมเนียมการศึกษาได โดยใหยื่นเรื่องขออนุมัติตอผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล โดย นักศึกษาจะตองชําระคาธรรมเนียมการศึกษาใหครบถวน ภายในระยะเวลา ๑๒ สัปดาหนับตั้งแตวันเปดภาค การศึกษา หากพนกําหนดดังกลาว นักศึกษายังไมชําระคาธรรมเนียมการศึกษาใหครบถวน นักศึกษาตองยื่น คํารองขอผอนผันอีกครั้งพรอมชี้แจงเหตุผลความจําเปนตอผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล เมื่อ - 110 - ไดรับอนุมัติใหผอนผันแลว สถาบันจะอนุญาตใหเขาสอบในภาคการศึกษานั้นได โดยนักศึกษาตองชําระ คาธรรมเนีย มการศึ กษาในภาคการศึ ก ษาที่ผานมาใหครบถวนก อ นเปดภาคการศึก ษาถัด ไป จึงจะมีสิทธิ ลงทะเบียนวิชาเรียนในภาคการศึกษาถัดไปนั้นได มิฉะนั้นนักศึกษาตองลาพักการศึกษาใหแลวเสร็จตามวัน เวลาที่กําหนดไวในปฏิทินการศึกษา ๑๐.๒ ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะตองลงทะเบียนวิชาเรียนตามหลักสูตรไม น อ ยกว า ๙ หน ว ยกิ ต และไม เ กิ น ๒๒ หน ว ยกิ ต เว น แต นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะสํ า เร็ จ การศึ ก ษา และต อ งการ ลงทะเบียนวิชาเรียนมากกวาที่กําหนดไวนี้ ทั้งนี้จะตองไมเกิน ๒๗ หนวยกิต หรือมีรายวิชาที่เหลือในหลักสูตร และเปดสอนในภาคการศึกษานั้น มีหนวยกิตรวมกันต่ํากวา ๙ หนวยกิต กรณีที่นักศึกษามีความจําเปนตองลงทะเบียนวิชาเรียนโดยมีจํานวนหนวยกิตรวมแตกตางไป จากนี้ ใหเปนอํานาจของผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลในการอนุมัติโดยอาจปรึกษากับอาจารยที่ ปรึกษากอน ทั้งนี้อาจารยที่ปรึกษาจะตองแจงใหสํานักทะเบียนและประมวลผลทราบวาการลงทะเบียนเกิน มาตรฐานนี้ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาแลว การลงทะเบียนวิชาเรียนในภาคฤดูรอน ใหลงทะเบียนวิชาเรียนไดไมเกิน ๙ หนวยกิต หาก ในภาคฤดูรอนนักศึกษาลงทะเบียนวิชาเรียนประเภทฝกงาน ไมใหนักศึกษาลงทะเบียนวิชาเรียนในรายวิชาอื่น ใดในภาคฤดูรอนนั้นอีก ๑๐.๓ ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร สํานักทะเบียนและประมวลผลอาจประกาศงดหรือเพิ่ม การสอนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งตามที่สวนงานวิชาการที่รับผิดชอบวิชานั้นๆ ไดแจงมาก็ได ๑๐.๔ การลงทะเบียนวิชาเรียนรายวิชาตางๆ ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขของรายวิชา โดยอาจ ขอปรึกษากับอาจารยที่ปรึกษาตามที่สวนงานวิชาการกําหนด ยกเวนการลงทะเบียนวิชาเรียนภาคการศึกษา แรกของนักศึกษาแรกเขา ๑๐.๕ นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนในรายวิชาที่มีวันเวลาเรียนซ้ําซอน และวันเวลาสอบ ซ้ําซอนกันไมได ๑๐.๖ นักศึกษาอาจลงทะเบียนวิชาเรียนลาชากวากําหนดเวลาลงทะเบียนวิชาเรียนตามปกติ ได โดยตองกระทําภายในระยะเวลาลงทะเบียนลาชาที่กําหนดไวในปฏิทินการศึกษา และตองชําระคาปรับตาม อัตราที่สถาบันกําหนด ๑๐.๗ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาเรียน และศึกษาครบตามหลักสูตรปริญญาตรี และไดคา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมถึงเกณฑที่สําเร็จการศึกษาแลว สามารถยื่นขออนุมัติเพื่อศึกษาตอ โดยอาจเปน การศึกษาแบบรวมเรียน หรือการศึกษาเพื่อขอรับปริญญาที่สองในหลักสูตรอื่นๆ ได ในกรณีขอรับปริญญาใบ ที่สองจะตองมีเวลาในการศึกษาในหลักสูตรใหมไมนอยกวา ๑ ปการศึกษาหลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรที่ เขาศึกษาเดิมแลว โดยใหยื่นเรื่องตอผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลภายใน ๓๐ วันนับตั้งแตวัน สําเร็จการศึกษา และเมื่อไดรับอนุมัติใหเขาศึกษาตอในหลักสูตรใหมเพื่อขอรับปริญญาที่สองแลว จะตอง ปฏิบัติตามขอบังคับนี้ทุกประการ - 111 - ๑๐.๘ เมื่อสิ้นสุดกําหนดเวลาการลงทะเบียนลาชา ใหสํานักทะเบียนและประมวลผลจัดทําประกาศ รายชื่อนักศึกษาที่ไมไดลงทะเบียนวิชาเรียน และประสานงานกับสวนงานวิชาการที่นักศึกษาสังกัด เพื่อติดตาม นักศึกษาใหมาลาพักการศึกษาตอไป โดยนักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลาพักการศึกษาใหเสร็จสิ้นกอนวันสิ้นสุดการลา พักการศึกษาที่ระบุในปฏิทินการศึกษา มิฉะนั้นจะพนสภาพการเปนนักศึกษา ๑๐.๙ การลงทะเบี ย นวิ ช าเรี ย นรายวิ ช าต า งๆ ต อ งปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขของรายวิ ช าใน หลักสูตรและชําระคาธรรมเนียมการศึกษาทั้งหมดใหครบถวนตามระยะเวลาที่กําหนดไวในแผนการศึกษาของ แตละหลักสูตรทั้งนี้ใหเปนไปตามระเบียบของสถาบันวาดวยการเก็บคาธรรมเนียมการศึกษา ๑๐.๑๐ กรณีนักศึกษาชําระคาธรรมเนียมการศึกษาไมครบถวน สถาบันขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม ออกใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) และไมไดรับการเสนอชื่อตอสภาสถาบันใหไดรับประกาศนียบัตรหรือ ปริญญาบัตร จนกวานักศึกษาจะไดชําระคาธรรมเนียมการศึกษาจนครบถวนแลว ๑๐.๑๑ การลงทะเบียนวิชาเรียนใด ๆ ที่ผิดเงื่อนไขที่กําหนดไว ใหถือวาไมมีการลงทะเบียนนั้น เกิดขึ้น ขอ ๑๑. การลงทะเบียนวิชาเรียนซ้ํารายวิชา ใหนักศึกษาปฏิบัติดังนี้ ๑๑.๑ นักศึกษาที่ตกหรือไมผานรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ตองเรียนซ้ํารายวิชานั้น เวนแต รายวิชานั้นจะไมมีการเปดสอนแลว ใหเลือกเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งที่เทียบเคียงกันได โดยจะตองไดรับ อนุมัติจากหัวหนาสวนงานวิชาการ ทั้งนี้ไมรวมถึงรายวิชาเลือก ๑๑.๒ นักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ํากวา C หรือ ๒.๐๐ ในรายวิชาใด อาจขอเรียนซ้ําใน รายวิชานั้นได โดยใหนับหนวยกิตที่เรียนซ้ําเพิ่มเขาไปดวย ขอ ๑๒. การขอลงทะเบียนวิชาเรียนรายวิชาตอเนื่อง นักศึกษาที่เคยเรียนรายวิชาที่เปนรายวิชาบังคับ กอน (Prerequisite) และสอบผานในรายวิชาบังคับกอนนั้นแลว จึงจะลงทะเบียนวิชาเรียนรายวิชาตอเนื่องได ขอ ๑๓. การลงทะเบียนเพื่อรักษาสถานภาพนักศึกษา ๑๓.๑ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาเรียนครบหนวยกิตแลว แตยังคางงานการคนควา ทดลอง วิทยานิพนธ ปริญญานิพนธ โครงงานพิเศษ ปญหาพิเศษ โครงงานการสรางอุปกรณเพื่อการสอน หรือ รายวิชาในลักษณะเดียวกันแตเรียกชื่อเปนอยางอื่น ซึ่งตองทําตอไปในภาคการศึกษาปกติหรือภาคการศึกษา ฤดูรอน ตองชําระคารักษาสถานภาพนักศึกษาตามระเบียบของสถาบัน ๑๓.๒ นักศึกษาตองลงทะเบียนรักษาสถานภาพดวยตนเองภายใน ๓ สัปดาห นับตั้งแตวัน เปดภาคการศึกษา หากพนกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลว นักศึกษาตองไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการสํานัก ทะเบียนและประมวลผลกอนจึงจะลงทะเบียนรักษาสถานภาพนักศึกษาได หมวด ๖ การเพิ่ม เปลี่ยน และถอนรายวิชา -------------------- - 112 - ขอ ๑๔. การขอเพิ่มรายวิชาใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑตอไปนี้ ๑๔.๑ การขอเพิ่มรายวิชาในภาคการศึกษาปกติ ใหนักศึกษาขอเพิ่มไดโดยไมเกินจํานวน หนวยกิตรวมที่ระบุไวใน ขอ ๑๐.๒ และนักศึกษาตองชําระคาหนวยกิตเพิ่มตามจํานวนหนวยกิตที่เพิ่มดวย ยกเวนเปนกรณีคาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย ๑๔.๒ นัก ศึกษาที่ ตองการเพิ่มรายวิชาเรี ย นใหดํา เนินการ ภายในระยะเวลา ๓ สัปดาห นับตั้งแตวันเปดภาคการศึกษา ตามกําหนดการที่ประกาศไวในปฏิทินการศึกษา เมื่อพนกําหนดนี้แลวสถาบัน จะไมอนุญาตใหนักศึกษาเพิ่มรายวิชาไมวากรณีใดๆ ทั้งสิ้น และการคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยใหคิดหนวยกิ ตของรายวิชาที่เพิ่มใหมดวย ขอ ๑๕. การขอเปลี่ยนรายวิชาใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑตอไปนี้ ๑๕.๑ การขอเปลี่ยนรายวิชาในภาคการศึกษาปกติ ตองไมสงผลใหขัดตอขอ ๑๐.๒ ๑๕.๒ นักศึกษาที่ตองการเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหดําเนินการภายในระยะเวลา ๓ สัปดาห นับตั้งแตวันเปดภาคการศึกษา ตามกําหนดการที่ประกาศไวในปฏิทินการศึกษาโดยอาจขอปรึกษากับอาจารยที่ ปรึกษาตามที่สวนงานวิชาการกําหนด เมื่อพนกําหนดนี้แลวสถาบันจะไมอนุญาตใหนักศึกษาเปลี่ยนรายวิชา ไมวากรณีใดๆ ทั้งสิ้น และการคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยใหคิดเฉพาะหนวยกิตของรายวิชาที่เลือกเรียนใหม ๑๕.๓ การขอเปลี่ยนรายวิชาหนึ่งรายวิชาใดที่มีจํานวนหนวยกิตเทากับรายวิชาที่ขอเปลี่ยน นักศึกษาไมตองชําระคาหนวยกิตอีก ๑๕.๔ การขอเปลี่ยนรายวิชาหนึ่งรายวิชาใดที่มีจํานวนหนวยกิตมากกวารายวิชาที่ขอเปลีย่ น นักศึกษาตองชําระคาหนวยกิตเพิ่มตามจํานวนหนวยกิตที่เพิ่มขึ้น ยกเวนเปนกรณีคาธรรมเนียมการศึกษาแบบ เหมาจาย ๑๕.๕ การขอเปลี่ ย นรายวิช าหนึ่ง รายวิช าใดที่มี จํา นวนหน ว ยกิ ต นอ ยกว า รายวิ ช าที่ข อ เปลี่ยน นักศึกษาจะไมไดรับคาหนวยกิตคืนจากสถาบัน ขอ ๑๖. การขอถอนรายวิชาใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑตอไปนี้ ๑๖.๑ นักศึกษาที่ตองการถอนรายวิชาเรียนใหดําเนินการตามกําหนดการที่ประกาศไวใน ปฏิทินการศึกษา เวนแตนักศึกษาจะไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลเปนกรณีพิเศษ ใหถอนรายวิชาเรียนภายหลังเวลาที่กําหนดได แตทั้งนี้จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จกอนวันสอบปลายภาค ของภาคการศึกษานั้น ๆ และในการคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ย จะไมนําหนวยกิตของรายวิชานั้นไปรวมดวย ๑๖.๒ เมื่อนักศึกษาขอถอนรายวิชาแลวจะตองมีจํานวนหนวยกิตรวมที่เหลือศึกษาอยูไม นอยกวาที่ระบุไวในขอ ๑๐.๒ และนักศึกษาจะไมไดรับคาหนวยกิตคืนจากสถาบัน เวนแตเปนกรณีที่สถาบัน ประกาศปดรายวิชาเรียน และนักศึกษาไมมีความประสงคจะลงทะเบียนวิชาเรียนรายวิชาอื่น ใหนักศึกษา สามารถยื่นคํารองเพื่อขอคืนคาหนวยกิตได ทั้งนี้ยกเวนเปนกรณีคาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย - 113 - หมวด ๗ การศึกษาแบบรวมเรียน ---------------------ขอ ๑๗. การศึกษาแบบรวมเรียน (Audit) เปนการศึกษาของนักศึกษาหรือบุคคลภายนอกที่ขอเขา ศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี เพื่อเพิ่มพูนความรูโดยไมนับหนวยกิตรวมเขาไวในหลักสูตรที่กําลังศึกษา ขอ ๑๘. การลงทะเบียนวิชาเรียนแบบรวมเรียน จะตองปฏิบัติเชนเดียวกับการเรียนวิชาเรียนปกติ ขอ ๑๙. การลงทะเบียนวิชาเรียน การเพิ่ม เปลี่ยน และถอนรายวิชาของการศึกษาแบบรวมเรียนให ปฏิบัติตามหมวด ๕ และหมวด ๖ ของขอบังคับนี้ ขอ ๒๐. การประเมินผลรายวิชาที่ลงทะเบียนวิชาเรียนแบบรวมเรียน ใหเปนไปตามขอ ๒๑ โดยไมให นําหนวยกิตมาใชในการสําเร็จการศึกษา หมวด ๘ การวัดและประมวลผลการศึกษา ---------------------ขอ ๒๑. ใหใชระบบหนวยกิตเปนหลักในการวัดผลการศึกษาโดยมีรายละเอียดดังนี้ ๒๑.๑ การวัดและรายงานผลการศึกษาใหกําหนดคาระดับคะแนนเปนตัวอักษร และในการ คิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยใหเทียบคาตัวอักษรเปนแตม ดังนี้ คาระดับคะแนน แตม ผลการศึกษา A ๔ ดีเลิศ (Excellent) B+ ๓.๕ ดีมาก (Very Good) B ๓ ดี (Good) C+ ๒.๕ ดีพอใช (Fairly Good) C ๒ พอใช (Fair) D+ ๑.๕ ออน (Poor) D ๑ ออนมาก (Very Poor) F ๐ ตก (Failed) o Fa ตกเนื่องจากเวลาเรียนไมพอ ไมมีสิทธิ์สอบ (Failed, Insufficient Attendance) Fe ๐ ตกเนื่องจากขาดสอบ (Failed, absent from examination) G ดี (Good) - 114 - P ผาน (Pass) I ไมสมบูรณ (Incomplete) S พอใจ (Satisfactory) U ไมพอใจ (Unsatisfactory) ๒๑.๒ การใหคาระดับคะแนน A B+ B C+ C D D+ F จะกระทําไดในรายวิชาที่ นักศึกษาเขาสอบ หรือ มีผลงานที่ประเมินผลไดในลําดับขั้น ๒๑.๓ การใหคาระดับคะแนน Fe จะทําไดในกรณีที่นักศึกษาขาดสอบโดยไมมีเหตุผล หรือมีเหตุสุดวิสัยแตไมไดดําเนินการตามขอ ๒๒.๓ ๒๑.๔ การใหคาระดับคะแนน Fa จะกระทําไดในกรณีที่นักศึกษาไมมีสิทธิสอบ เนื่องจาก เวลาเรียนไมเพียงพอ โดยตองมีหลักฐานการเขาหองเรียนประกอบดวย ๒๑.๕ การใหคาระดับคะแนน I จะกระทําไดในกรณีที่นักศึกษามีงานบางสวนในรายวิชา นั้นไมสมบูรณ หรือไมสามารถสงงานที่ไดรับมอบหมายไดทันเวลา การแกคาระดับคะแนน I จะตองกระทํา ใหเสร็จสิ้นกอนการลงทะเบียนวิชาเรียนของภาคการศึกษาปกติถัดไป เวนแตรายวิชาปริญญานิพนธหรือ รายวิชาที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีลักษณะเดียวกันกับปริญญานิพนธจะตองแกคาระดับคะแนน I ใหเสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา ๑ ป นับตั้งแตวันที่ไดนับคาระดับคะแนน I ๒๑.๖ ในรายวิชาประเภทฝกงานตามขอ ๖.๕.๓ หากผลการปฏิบัติหรือผลการฝกเปนที่ พอใจใหไดคาระดับคะแนน S และหากผลการปฏิบัติหรือผลการฝกไมเปนที่พอใจใหไดคาระดับคะแนน U ซึ่งการจะจบการศึกษาตามหลักสูตรไดในรายวิชาประเภทฝกงานนี้ตองไดคาระดับคะแนน S ๒๑.๗ ในรายวิชาแบบรวมเรียน หากผลการเรียนเปนที่พอใจใหไดคาระดับคะแนน S และ หากผลการเรียนไมเปนที่พอใจใหไดคาระดับคะแนน U ๒๑.๘ ในรายวิชาสหกิจศึกษา หรือ รายวิชาอื่นที่มีลักษณะการเรียนในแบบสหกิจศึกษา หากผลการเรียนหรือผลการฝกดีใหไดคาระดับคะแนน G หากผลการเรียนหรือผลการฝกเปนที่พอใจใหไดคา ระดับคะแนน P และหากผลการเรียนหรือผลการฝกไมเปนที่พอใจใหไดคาระดับคะแนน U ๒๑.๙ คาระดับคะแนนที่ถือเปนการสอบผาน ไดแก A B+ B C+ C D+ D G P S ขอ ๒๒.การสอบประจําภาคการศึกษา ๒๒.๑ ใหมีการสอบอยางนอยภาคการศึกษาละ ๒ ครั้ง คือระหวางภาคการศึกษาครั้งหนึ่ง และปลายภาคการศึกษาอีกครั้งหนึ่ง ๒๒.๒ นักศึกษาซึ่งมีเวลาเรียนรายวิชาใดต่ํากวารอยละ ๘๐ ใหถือวาไมมีสิทธิสอบ และให ตกในรายวิชานั้น การคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยใหนําหนวยกิตของรายวิชานั้นไปคิดดวย ๒๒.๓ เหตุ สุ ด วิ สั ย ที่ ไ ม ส ามารถเข า สอบประจํ า ภาคการศึ ก ษาได ให ถื อ เฉพาะกรณี ดังตอไปนี้ - 115 - ๒๒.๓.๑ ปวย ตองมีใบรับรองแพทยจากโรงพยาบาลของรัฐบาล หรือของเอกชน ซึ่ง แพทยวินิจฉัยวาไมสามารถมาสอบได ๒๒.๓.๒ อุบัติเหตุใหมีหลักฐานรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ๒๒.๓.๓ บุพการี ผูปกครอง พี่หรือนองรวมบิดามารดา หรือพี่หรือนองรวมบิดาหรือ มารดาเดียวกัน ประสบอุบัติเหตุ หรือเจ็บปวยกะทันหันที่นักศึกษามีความจําเปนตองอยูชวยเหลือ โดย จะตองมีหลักฐานรับรองสนับสนุนในเหตุนั้นๆ เพื่อประกอบการพิจารณาดวย ๒๒.๓.๔ อุปสมบทหนาไฟ ๒๒.๓.๕ เหตุสุดวิสัยอื่นๆ นอกเหนือจากขอ ๒๒.๓.๑ ถึงขอ ๒๒.๓.๔ ใหเปน อํานาจของผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลพิจารณา เมื่อเกิดเหตุสุดวิสัยตามขอ ๒๒.๓ นักศึกษาหรือผูปกครอง อาจยื่นเรื่องขออนุมัติตอ หัวหนาสวนงานวิชาการเพื่อขอสอบเปนกรณีพิเศษ โดยตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูสอนกอน หรือ อาจยื่นเรื่องขออนุมัติตอผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล เพื่อขอถอนรายวิชาเปนกรณีพิเศษ ทั้งนี้ ให ดํ า เนิ น การภายใน ๑ สั ป ดาห นั บ ตั้ง แต วัน สอบในรายวิช านั้ น ๆ เว น แตมี เ หตุ ผ ลความจํ า เป น ให รี บ ดําเนินการขอถอนรายวิชาเปนกรณีพิเศษในโอกาสแรกที่สามารถดําเนินการได ๒๒.๔ นักศึกษาซึ่งทุจริตในการสอบ จะไมไดรับการพิจารณาผลการเรียนในภาคการศึกษา ที่นักศึกษากระทําการทุจริตนั้น และพักการเรียนในภาคการศึกษาปกติถัดไปอีก ๑ ภาคการศึกษา ขอ ๒๓. การคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ย ๒๓.๑ การคิ ด คาระดับคะแนนเฉลี่ย จะกระทําเมื่อสิ้ นภาคการศึ กษาแตละภาค ในการ คํานวณแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมใหดําเนินการดังนี้ ใหคูณหนวยกิตดวยแตมของคาระดับคะแนนเปน รายวิชาแลวรวมกัน เสร็จแลวจึงหารดวยจํานวนหนวยกิตรวมทุกรายวิชา ใหมีทศนิยมสองตําแหนงโดยไมมี การปดเศษ ๒๓.๒ ใหคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๒๓.๒.๑ คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคการศึกษา (Grade point average of semester = GPS) คือ คาระดับคะแนนเฉลี่ยที่คิดเฉพาะรายวิชาที่เรียนในภาคการศึกษานั้น โดยไมตองนํา รายวิชาประเภทฝกงาน รายวิชาสหกิจศึกษา หรือรายวิชาอื่นที่มีลักษณะการเรียนในแบบสหกิจศึกษา มาคิด คะแนนเฉลี่ย ๒๓.๒.๒ คาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Total grade point average = GPA) คือ คา ระดับคะแนนเฉลี่ยที่คิดจากรายวิชาที่เรียน เริ่มตั้งแตภาคการศึกษาที่เขาเรียนจนถึงภาคการศึกษาปจจุบัน โดย ไมตองนํารายวิชาประเภทฝกงาน รายวิชาสหกิจศึกษา หรือรายวิชาอื่นที่มีลักษณะการเรียนในแบบสหกิจ ศึกษา มาคิดคะแนนเฉลี่ย ๒๓.๓ การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมเพื่อสําเร็จการศึกษา ใหคิดเฉพาะจํานวนหนวยกิตใน รายวิชาที่กําหนดไวในหลักสูตร รวมทั้งรายวิชาที่เรียนซ้ําตามขอ ๑๑.๒ เวนแตนักศึกษาซึ่งยังไมสําเร็จ - 116 - การศึกษาตามที่กําหนดในขอ ๒๔.๓ ใหรวมรายวิชาที่ลงทะเบียนวิชาเรียนภายหลังไปดวย ทั้งนี้ไมตองนํา รายวิชาประเภทฝกงาน รายวิชาสหกิจศึกษา หรือรายวิชาอื่นที่มีลักษณะการเรียนในแบบสหกิจศึกษา มาคิด คะแนนเฉลี่ยสะสม ขอ ๒๔. การภาคทัณฑ และการพนสภาพการเปนนักศึกษา ๒๔.๑ นักศึกษาซึ่งไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา ๒.๐๐ ตองถูกภาคทัณฑไว ใน ระหวางภาคทัณฑ ถาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคการศึกษาถัดไปต่ํากวา ๒.๐๐ ใหนักศึกษานั้นพนสภาพ การเปนนักศึกษา ทั้งนี้ใหนับรวมถึงการศึกษาภาคฤดูรอนดวย ๒๔.๒ นักศึกษาซึ่งถูกภาคทัณฑไว จะพนภาคทัณฑเมื่อไดรับคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๒.๐๐ ทั้งนี้ใหนับรวมถึงการศึกษาภาคฤดูรอนดวย ๒๔.๓ นักศึกษาซึ่งเรียนไดหนวยกิตครบตามหลักสูตรแลว แตคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ยังต่ํากวา ๒.๐๐ ถือวายังไมสําเร็จการศึกษา ดังนั้นจะไดรับอนุญาตใหเรียนรายวิชาที่อยูในหลักสูตรตอไปอีก ไมเกิน ๔ ภาคการศึกษาปกติ ทั้งนี้ตองไมเกินระยะเวลาตามขอ ๖.๘ เมื่อสิ้นสุดระยะเวลานี้แลวหากคาระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสม ยังต่ํากวา ๒.๐๐ ใหนักศึกษาพนสภาพการเปนนักศึกษา ๒๔.๔ นักศึกษาซึ่งไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา ๑.๐๐ ในภาคการศึกษาใด จะตอง พนสภาพการเปนนักศึกษาตั้งแตภาคการศึกษานั้น ขอ ๒๕.เกียรตินิยมสําหรับผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ๒๕.๑ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง นักศึกษาซึ่งไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๓.๕๐ โดยใชระยะเวลาเรียนไมเกิน ระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตร และใหนับระยะเวลาเรียนเฉพาะภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนวิชาเรียน ไมเคยศึกษาซ้ํารายวิชาใดและไดรับคาระดับคะแนนไมต่ํากวา C ทุกรายวิชา ไมเคยลาพักการศึกษาเนื่องจาก ไมไดลงทะเบียนวิชาเรียนตามกําหนด และไมเคยถูกลงโทษเนื่องจากผิดวินัยนักศึกษา เมื่อสําเร็จการศึกษาจะ ไดเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ๒๕.๒ เกียรตินิยมอันดับสอง นักศึกษาซึ่งไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๓.๒๕ โดยใชระยะเวลาเรียนไมเกิน ระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตร และใหนับระยะเวลาเรียนเฉพาะภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนวิชาเรียน ไมเคยสอบตก ไมเคยศึกษาซ้ํารายวิชาใดและไดรับคาระดับคะแนน ไมต่ํากวา C ทุกรายวิชา ไมเคยลาพัก การศึกษาเนื่องจากไมไดลงทะเบียนวิชาเรียนตามกําหนด และไมเคยถูกลงโทษเนื่องจากผิดวินัยนักศึกษา เมื่อ สําเร็จการศึกษาจะไดเกียรตินิยมอันดับสอง ขอ ๒๖. ใหสวนงานวิชาการเก็บกระดาษคําตอบในการวัดผลการศึกษาไวอยางนอยเปนเวลา ๑ ป การศึกษา นับตั้งแตวันประกาศผลการศึกษา เมื่อพนกําหนดนี้แลว ใหอธิการบดีมีอํานาจสั่งทําลายเอกสารนี้ได ตามหลักเกณฑที่กําหนด ขอ ๒๗.ใหสํานักทะเบียนและประมวลผลเปนผูดําเนินการประมวลและรายงานผลการศึกษา - 117 - หมวด ๙ การสําเร็จการศึกษา -----------------ขอ ๒๘. นั ก ศึ ก ษาที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาและจะมี สิ ท ธิ ไ ด รั บ การเสนอชื่ อ ให ไ ด รั บ ปริ ญ ญาตรี หรื อ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (เฉพาะบางหลักสูตรที่กําหนด) ตองอยูในหลักเกณฑ ดังนี้ ๒๘.๑ เรียนครบหนวยกิตและรายวิชาตามที่สถาบันกําหนดไวในหลักสูตร ๒๘.๒ ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๒.๐๐ ๒๘.๓ นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา จะตองเปนผูมีเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษา ตามหมวด ๑๕ ของขอบังคับนี้ ๒๘.๔ ตองไมเปนผูมีหนี้สินและภาระผูกพันกับสวนงานตาง ๆ ภายในสถาบัน ขอ ๒๙ ใหผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลเปนผูอนุมัติการสําเร็จการศึกษา เพื่อนําเสนอ สภาสถาบันอนุมัติปริญญา หมวด ๑๐ การเทียบโอนผลการเรียน และการยาย -------------------ขอ ๓๐. สถาบันอาจกําหนดหลักเกณฑในการที่จะรับโอน หรือไมรับโอนนิสิตนักศึกษา และหนวยกิ ตจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ ตามหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญา เขาสูการศึกษาในระบบของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และหลักเกณฑของสถาบันที่กําหนดไว ในขอบังคับนี้ และตามประกาศของสถาบันที่จะออกใชบังคับตอไป ขอ ๓๑. สถาบันกําหนดใหมีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และจากผลการเรียนตามโครงการเรียนลวงหนา ดังนี้ ๓๑.๑ คุณสมบัติของผูมีสิทธิขอเทียบโอนผลการเรียน ๓๑.๑.๑ ผูขอเทียบโอนผลการเรียน ตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเทา และ ๓๑.๑.๒ ผูขอเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ ตองเปนหรือเคยเปน นักศึกษาของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเทาในหลักสูตรที่สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา หรือหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรองและผานการคัดเลือกเขาสถาบันในสวนงาน วิชาการที่ตองการขอเทียบโอนผลการเรียนได ตามวิธีที่คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการกําหนด โดย จัดทําเปนประกาศสถาบัน หรือ - 118 - ๓๑.๑.๓ ผูขอเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษานอกระบบ หรือการศึกษาตาม อัธยาศัย จะตองผานการคัดเลือกเขาสถาบันในสวนงานวิชาการที่ตองการขอเทียบโอนผลการเรียนได ตามวิธี ที่คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการกําหนด โดยจัดทําเปนประกาศสถาบัน หรือ ๓๑.๑.๔ ผูขอเทียบโอนผลการเรียนจากโครงการเรียนลวงหนา จะตองเปนนักเรียน ที่เขารวมโครงการเรียนลวงหนาของสถาบันและผานการคัดเลือกเขาสถาบันในสวนงานวิชาการที่ตองการขอ เทียบโอนผลการเรียนได ตามวิธีที่คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการกําหนด โดยจัดทําเปนประกาศ สถาบัน ๓๑.๒ หลักเกณฑการเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิตระหวางการศึกษาในระบบ ๓๑.๒.๑ เปนรายวิชา หรือกลุมรายวิชาในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา หรือเทียบเทาที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรอง ๓๑.๒.๒ เปนรายวิชา หรือกลุมรายวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไมนอยกวาสาม ในสี่ของรายวิชา หรือกลุมรายวิชาที่ขอเทียบโอน ซึ่งตองไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการประจําสวนงาน วิชาการ ๓๑.๒.๓ เปนรายวิชา หรือกลุมรายวิชาที่สอบไดคาระดับคะแนนไมต่ํากวา C+ หรือ ๒.๕๐ หรือเทียบเทา เวนแตเปนรายวิชา หรือกลุมรายวิชาที่เทียบจากผลการศึกษาในสถาบันใหเทียบไดตั้งแต ระดับคะแนน C หรือ ๒.๐๐ ขึ้นไป ๓๑.๒.๔ นักศึกษาจะเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิตไดไมเกินหนึ่งในสาม ของจํานวนหนวยกิตทั้งหมดในหลักสูตรที่ขอเทียบโอนนั้น ยกเวนกรณีที่นักศึกษาเขาศึกษาตอเพื่อขอรับ ปริญญาที่สอง ใหสามารถเทียบโอนไดทุกรายวิชา ทั้งนี้ตองลงทะเบียนวิชาเรียนและชําระคาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับรายวิชาที่ไดรับอนุมัติใหเทียบโอนรายวิชาตามระเบียบของสถาบัน ๓๑.๒.๕ รายวิชา หรือกลุมรายวิชาที่เทียบโอนจากผลการศึกษาในสถาบัน สามารถ นํามาคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมได ๓๑.๒.๖ รายวิ ช า หรื อ กลุ ม รายวิ ช าที่ เ ที ย บโอนจากผลการศึ ก ษาของต า ง สถาบันอุดมศึกษา จะไมนํามาคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ๓๑.๒.๗ การเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิต ตองไดรับการอนุมัติจาก คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ ๓๑.๓ หลักเกณฑการเทียบโอนความรู และการใหหนวยกิตจากการศึกษานอกระบบ หรือ การศึกษาตามอัธยาศัยเขาสูการศึกษาในระบบ ๓๑.๓.๑ การเทียบโอนความรูจะเทียบเปนรายวิชา หรือกลุมรายวิชาตามหลักสูตรที่ ผูเทียบโอนตองการเขาศึกษา ๓๑.๓.๒ การประเมินเพื่อการเทียบโอนความรูในแตละรายวิชา หรือกลุมรายวิชา ตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ - 119 - ๓๑.๓.๓ ผลการประเมินจะตองเทียบไดไมต่ํากวาคาระดับคะแนน B หรือ ๓.๐๐ จึงจะใหหนวยกิตของรายวิชาหรือกลุมรายวิชานั้น แตจะไมมีการนํามาคิดระดับคะแนนผลการเรียน หรือ คํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ๓๑.๓.๔ การเที ย บรายวิ ช า หรื อ กลุ ม รายวิ ช าจากการศึ ก ษานอกระบบ หรื อ การศึกษาตามอัธยาศัย ใหเทียบโอนหนวยกิตไดรวมกันไมเกิน ๑ ใน ๓ ของจํานวนหนวยกิตทั้งหมดใน หลักสูตรที่ขอเทียบโอนนั้น โดยจะตองลงทะเบียนวิชาเรียน และชําระคาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับรายวิชา ที่ไดรับอนุมัติใหเทียบรายวิชาตามระเบียบของสถาบัน ๓๑.๓.๕ สถาบันอาจใหมีการเทียบโอนจากการศึกษาตามอัธยาศัย โดยวิธีการอื่น ๆ ได ทั้งนี้ใหทําเปนประกาศสถาบัน ๓๑.๔ นักศึกษาที่ไดรับการเทียบโอนตามขอบังคับนี้จะตองใชเวลาศึกษาในสถาบันไมนอย กวา ๑ ปการศึกษาขึ้นไป เวนแตจะพนสภาพการเปนนักศึกษาตามขอ ๒๔ ๓๑.๕ หลักเกณฑการเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิตจากโครงการเรียนลวงหนา ๓๑.๕.๑ การจัดการศึกษาตามโครงการเรียนลวงหนา (Advanced Placement Program) เปนการจัดการศึกษาโดยความรวมมือระหวางสถาบันและโรงเรียนที่เขารวมโครงการ โดยนักเรียน ของโรงเรียนที่เขารวมโครงการ สามารถลงทะเบียนวิชาเรียนในรายวิชาเรียนลวงหนา และเมื่อผานการวัดผล ตามผลการเรียนที่กําหนดไว สามารถจะนํารายวิชานั้นมาเทียบโอนเปนหนวยกิตในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ได ๓๑.๕.๒ การเทียบโอนรายวิชาเรียน ที่ไดลงทะเบียนวิชาเรียนในสถาบันตาม โครงการเรียนลวงหนา ใหเทียบโอนไดในรายวิชาที่สอบไดคาระดับคะแนนไมต่ํากวา C+ หรือ ๒.๕๐ หรือ เทียบเทา โดยใหนําระดับคะแนนมาคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมดวย ๓๑.๕.๓ การเทียบโอนรายวิชาเรียน ที่ไดลงทะเบียนวิชาเรียนในโรงเรียนที่เขารวม โครงการเรี ย นล ว งหน า ให เ ที ย บโอนได เ ฉพาะรายวิ ช าที่ ผ า นการประเมิ น เนื้ อ หาโดยส ว นงานวิ ช าการ ผูรับผิดชอบรายวิชาที่ตองการเทียบโอนและไดรับความเห็นชอบจากสถาบันแลว ทั้งนี้ผลการประเมินจะตองมี เนื้อหาครอบคลุมรายวิชาที่ตองการเทียบโอนไมนอยกวาสามในสี่และจะตองไดระดับคะแนนไมนอยกวา B+ หรือ ๓.๕๐ หรือเทียบเทา และไมใหนําระดับคะแนนมาคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ๓๑.๕.๔ นักศึกษาจะเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิตไดไมเกินหนึ่งในสาม ของจํ า นวนหน ว ยกิ ต ทั้ ง หมดในหลั ก สู ต รที่ ข อเที ย บโอนนั้ น โดยจะต อ งลงทะเบี ย นวิ ช าเรี ย นและชํ า ระ คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับรายวิชาที่ไดรับอนุมัติใหเทียบโอนรายวิชาตามระเบียบของสถาบัน ๓๑.๕.๕ การเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิต จะดําเนินการไดภายใน ๒ ป นับตั้งแตวันที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓๑.๕.๖ การเทียบรายวิชาเรียน และโอนหนวยกิต ตองไดรับการอนุมัติจาก คณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการ - 120 - ๓๑.๖ ให ทําการเทีย บรายวิ ชาและโอนหนวยกิ ตของนัก ศึกษาสถาบัน ที่ ไ ดไ ปศึ กษาใน สถาบันอุดมศึกษาอื่นทั้งในและตางประเทศภายใตความรวมมือทางวิชาการ รวมถึงการศึกษาทางไกลได โดย ใหคณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการเปนผูพิจารณาประเมินและอนุมัติการเทียบโอนหนวยกิตตามสาระ ของรายวิชาที่ขอเทียบโอน โดยไมขัดกับหลักเกณฑของกระทรวงศึกษาธิการ หรือสภาวิชาชีพที่เกี่ยวของ แลวแตกรณี ๓๑.๗ ในการขอเทียบรายวิชาใหนักศึกษายื่นคํารองขอเทียบรายวิชาที่สํานักทะเบียนและ ประมวลผลภายใน ๑ สัปดาห นับตั้งแตวันเปดภาคการศึกษา หากเกินกําหนดถือวานักศึกษาสละสิทธิ์ เวนแตมี เหตุจําเปน ใหเปนดุลยพินิจของผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผลในการพิจารณา ขอ ๓๒. การยายหลักสูตรและสวนงานวิชาการ มีหลักเกณฑดังนี้ ๓๒.๑ ผูขอยายตองมีสถานะเปนนักศึกษาของสถาบัน ๓๒.๒ การขอยายจะกระทําไดก็ตอเมื่อคณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการที่นักศึกษา ประสงคจะยายเขานั้นอนุมัติการยายและรับนักศึกษาเขาศึกษา รวมทั้งนักศึกษาตองไดรับความยินยอมจาก สวนงานวิชาการตนสังกัดเดิม และตองไดรับการอนุญาตจากผูปกครองดวย ทั้งนี้สวนงานวิชาการที่รับอาจจัด ใหมีการทดสอบเพิ่มเติมตามที่สวนงานวิชาการนั้นกําหนดก็ได ๓๒.๓ นักศึกษาจะขอยายหลักสูตรและสวนงานวิชาการไดตองศึกษามาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิต ๓๒.๔ การขอย า ยหลั ก สู ต รและส ว นงานวิ ช าการให ยื่ น คํ า ร อ งต อ สํ า นั ก ทะเบี ย นและ ประมวลผล กอนกําหนดการลงทะเบียนวิชาเรียนในภาคการศึกษาใหม ไมนอยกวา ๓๐ วัน ๓๒.๕ ให ค ณะกรรมการประจํ า ส ว นงานวิ ช าการทุ ก ส ว นงานวิ ช าการจั ด ทํ า ประกาศ หลักเกณฑในการพิจารณารับนักศึกษาที่ยายหลักสูตรและสวนงานวิชาการ ๓๒.๖ ในกรณีที่นักศึกษาไดรับการอนุมัติใหยายหลักสูตรและสวนงานวิชาการ ใหปฏิบัติ กับนักศึกษาเสมือนเปนนักศึกษาใหมของสวนงานวิชาการที่รับนักศึกษาเขาศึกษา และการเทียบโอนรายวิชา ใหเทียบโอนไดเฉพาะรายวิชาที่มีอยูในหลักสูตรใหมที่เขาศึกษาที่ไดรับคาระดับคะแนนไมต่ํากวา C หรือ ๒.๐๐ เทานั้น ขอ ๓๓. การยายหลักสูตรภายในสวนงานวิชาการเดียวกัน มีหลักเกณฑดังนี้ ๓๓.๑ เปนนักศึกษาที่ยังคงมีสิทธิเรียนในหลักสูตรเดิมของสวนงานวิชาการนั้น ๓๓.๒ การขอยายจะกระทําไดตอเมื่อคณะกรรมการประจําสวนงานวิชาการที่นักศึกษา ประสงคจะยายเขาอนุมัติการยายและรับนักศึกษาเขาศึกษา ๓๓.๓ นักศึกษาตองศึกษามาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิตสะสม ไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิต ๓๓.๔ การขอย า ยให ยื่ น คํ า ร อ งต อ สํ า นั ก ทะเบี ย นและประมวลผล ก อ นกํ า หนดการ ลงทะเบียนวิชาเรียนในภาคการศึกษาใหม ไมนอยกวา ๑๕ วัน - 121 - ๓๓.๕ ในการเทียบโอนรายวิชา นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหยายหลักสูตร ใหเทียบโอนได เฉพาะรายวิชาที่มีอยูในหลักสูตรใหมที่เขาศึกษาที่ไดรับคาระดับคะแนนไมต่ํากวา C หรือ ๒.๐๐ เทานั้น หมวด ๑๑ การลา และการพนสภาพการเปนนักศึกษา --------------------ขอ ๓๔. การลา ๓๔.๑ การลาแบงเปน ๔ ประเภท คือ ๓๔.๑.๑ การลาปวย ๓๔.๑.๒ การลากิจ ๓๔.๑.๓ การลาพักการศึกษา ๓๔.๑.๔ การลาออก ๓๔.๒ การลาปวย ๓๔.๒.๑ การลาปวยในระหวางเรียน นักศึกษาตองยื่นใบลาในวันแรกที่กลับเขามา เรียน ในกรณีที่ลาปวยตั้งแต ๕ วันขึ้นไปตองมีใบรับรองแพทยโดยยื่นตออาจารยประจําวิชา ๓๔.๒.๒ การลาปวยที่อยูในระหวางการสอบ ใหถือปฏิบัติตาม ขอ ๒๒.๓ ๓๔.๓ การลากิจ ๓๔.๓.๑ นักศึกษาที่จําเปนตองลาระหวางชั่วโมงเรียนตองขออนุญาตจากอาจารย ประจําวิชานั้น ๓๔.๓.๒ นักศึกษาที่จะตองลากิจตั้งแต ๑ วันขึ้นไป ตองยื่นใบลากอนวันลาพรอม ดวยเหตุผลและคํารับรองของผูปกครองหรืออาจารยที่ปรึกษาอยางใดอยางหนึ่ง โดยยื่นตออาจารยประจําวิชา ๓๔.๓.๓ การลากิจที่อยูในระหวางการสอบใหถือปฏิบัติ ขอ ๒๒.๓ ๓๔.๔ การลาพักการศึกษา ๓๔.๔.๑ การลาพักการศึกษาเปนการลาพักทั้งภาคการศึกษา หากไดลงทะเบียนวิชา เรียนไปแลว ถือเปนการยกเลิกการลงทะเบียนนั้น โดยรายวิชาที่ไดลงทะเบียนทั้งหมด จะไมปรากฏในใบ แสดงผลการศึกษา ๓๔.๔.๒ สถาบันจะอนุญาตใหนักศึกษาลาพักการศึกษาไดในกรณีดังนี้ ๓๔.๔.๒.๑ ปวย ตองมีใบรับรองแพทยจากโรงพยาบาลของรัฐบาลหรือ เอกชนซึ่งแพทยวินิจฉัยวาตองพักรักษาตัว ๓๔.๔.๒.๒ ประสบอุบัติเหตุ จนตองพักรักษาตัวนานเกิน ๒๐ วัน ๓๔.๔.๒.๓ ถูกเกณฑ หรือระดมเขารับราชการทหาร - 122 - ๓๔.๔.๒.๔ ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศ หรือทุนอื่น ใดที่สถาบันเห็นสมควรใหการสนับสนุน ๓๔.๔.๒.๕ ไมลงทะเบียนวิชาเรียน หรือไมชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ภายในระยะเวลาที่สถาบันกําหนด ๓๔.๔.๒.๖ มี เ หตุ จํ า เป น ที่ ไ ม เ ข า ข า ยตามข อ ๓๔.๔.๒.๑ ถึ ง ข อ ๓๔.๔.๒.๕ โดยตองมีผูปกครองรับรอง ๓๔.๔.๓ นักศึกษาสามารถลาพักการศึกษาไดครั้งละ ๑ ภาคการศึกษาปกติและลา พักติดตอกันไดไมเกิน ๑ ปการศึกษา โดยใหนักศึกษาหรือผูปกครองในกรณีที่นักศึกษาไมอาจดําเนินการดวย ตนเองได ยื่นคํารองขอลาพักพรอมหลักฐานตามกรณี ตอสํานักทะเบียนและประมวลผล การลาพักการศึกษา นี้ตองไดรับความยินยอมจากผูปกครอง ทั้งนี้จะตองลาพักการศึกษาใหแลวเสร็จกอนการสอบปลายภาคของ ภาคการศึกษาที่ตองการลาพักการศึกษา ๓๔.๔.๔ นักศึกษาใหมไมมีสิทธิขอลาพักการศึกษาในภาคการศึกษาแรก ยกเวนมี เหตุสุดวิสัยใหเสนออธิการบดีพิจารณาอนุมัติเปนรายกรณีไป ๓๔.๔.๕ นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษาตองชําระคารักษาสถานภาพ นักศึกษาทุกภาคการศึกษาปกติ ยกเวนภาคการศึกษาที่ไดลงทะเบียนวิชาเรียนและชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ไปกอนแลว และเมื่อจะกลับเขาศึกษาจะตองยื่นคํารองตอสํานักทะเบียนและประมวลผลเพื่อขอกลับเขาศึกษา พรอมแนบหลักฐานการอนุมัติใหลาพักการศึกษาตอสํานักทะเบียนและประมวลผลกอนวันเปดภาคการศึกษา ไมนอยกวา ๕ วันทําการ ๓๔.๔.๖ นักศึกษาที่ตองการลาพักการศึกษา เกินกวา ๑ ปการศึกษา จะตองไดรับ อนุมัติจากอธิการบดี และเมื่อจะกลับเขาศึกษาจะตองยื่นคํารองตอสํานักทะเบียนและประมวลผลเพื่อขอกลับ เขาศึกษา พรอมแนบหลักฐานการอนุมัติใหลาพักการศึกษาตอสํานักทะเบียนและประมวลผล กอนวันเปดภาค การศึกษาไมนอยกวา ๕ วันทําการ และจะตองชําระคารักษาสถานภาพนักศึกษาเทากับจํานวนภาคการศึกษา ปกติที่ลาพักการศึกษา ๓๔.๔.๗ นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษาใหนับรวมระยะเวลาที่ลาพัก การศึกษาอยูในระยะเวลาตามหลักสูตรดวย ๓๔.๕ การลาออก ใหนักศึกษายื่นคํารองขอลาออกตอสํานักทะเบียนและประมวลผล โดย ตองไดรับความยินยอมจากผูปกครอง ทั้งนี้ผูที่จะไดรับการอนุมัติใหลาออกได จะตองไมมีหนี้สินกับทาง สถาบัน ๓๔.๖ การพนสภาพการเปนนักศึกษา มีในกรณีดังตอไปนี้ ๓๔.๖.๑ เสียชีวิต ๓๔.๖.๒ ลาออก หรือพนสภาพการเปนนักศึกษาตามขอ ๒๔ ๓๔.๖.๓ ถูกลงโทษใหออก ไลออกจากสถาบัน ตามหมวด ๑๔ - 123 - ๓๔.๖.๔ ขาดคุณสมบัติการเขาเปนนักศึกษาของสถาบัน ๓๔.๖.๕ เรียนสําเร็จตามหลักสูตร โดยไดรับอนุมัติผลการศึกษาแลว ๓๔.๖.๖ ไมลงทะเบียนวิชาเรียน หรือไมชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ภายในเวลาที่ สถาบันกําหนด โดยมิไดลาพักการศึกษาและรักษาสถานภาพนักศึกษาตามหมวด ๕ และหมวด ๑๑ ๓๔.๖.๗ ไมรักษาสถานภาพนักศึกษาภายในเวลาที่สถาบันกําหนด ๓๔.๖.๘ ศึกษาอยูในสถาบันเกินระยะเวลาการศึกษาตามขอ ๖.๘ ทั้งนี้ใหนับรวม ระยะเวลาที่ลาพักการศึกษาหรือถูกลงโทษพักการเรียนดวย ๓๔.๖.๙ ทุจริตในการสอบมากกวา ๑ ครั้ง ๓๔.๗ ในทุกสิ้นภาคการศึกษา ใหสํานักทะเบียนและประมวลผล ประกาศรายชื่อผูพน สภาพการเปนนักศึกษา และถอนรายชื่อออกจากการเปนนักศึกษา โดยตองไดรับความเห็นชอบจากหัวหนา สวนงานวิชาการ ๓๔.๘ ในกรณีที่นักศึกษาพนสภาพเนื่องจากเสียชีวิต ใหสวนงานวิชาการที่นักศึกษาสังกัด แจงสวนงานที่เกี่ยวของทราบโดยเร็ว หมวด ๑๒ การศึกษาภาคฤดูรอน ------------------------ขอ ๓๕. นักศึกษาของสถาบัน ที่จะเขาศึกษาในภาคฤดูรอน ตองยื่ นคํ ารองตอสํานั กทะเบียนและ ประมวลผล เพื่อขอเปดรายวิชาเรียน ขอ ๓๖. รายวิชาที่จะเปดสอนตองเปนรายวิชาที่มีอยูในหลักสูตรของแตละสวนงานวิชาการ โดย หัวหนาสวนงานวิชาการเปนผูพิจารณาอนุมัติการเปดสอนเมื่ออาจารยประจําวิชายินดีเปดสอน หรือในกรณีที่ อาจารยประจําวิชาไมสามารถเปดสอนไดและมีอาจารยอื่นที่สอนไดยินดีเปดสอน กรณีที่ไมมีอาจารยในหลักสูตรที่นักศึกษาศึกษาอยูเปดสอนได และนักศึกษาศึกษาอยูในปการศึกษา สุดทาย นักศึกษาอาจจะเลือกเรียนรายวิชาตางหลักสูตรที่มีเนื้อหาวิชาเทียบเคียงไดกับรายวิชาที่ตองการเรียน โดยยื่นคํารองขอเทียบรายวิชาตอหัวหนาสวนงานวิชาการพิจารณาอนุมัติ หลังจากนั้นใหสวนงานวิชาการแจง ใหสํานักทะเบียนและประมวลผลดําเนินการตอไป ขอ ๓๗. การสอนภาคฤดูรอนใหมีเวลาทําการสอนไมนอยกวา ๖ สัปดาห และใหมีจํานวนชั่วโมง เรียนทั้งหมดเทากับภาคการศึกษาปกติ ขอ ๓๘. นักศึกษาลงทะเบียนวิชาเรียนในภาคฤดูรอนไดไมเกิน ๙ หนวยกิต ขอ ๓๙. การเพิ่ม เปลี่ยน ใหดําเนินการภายใน ๑ สัปดาห นับตั้งแตวันเปดภาคการศึกษา การถอนวิชา เรียนใหดําเนินการกอนการสอบภาคฤดูรอนจะเริ่มตน ๑ สัปดาห เวนแตมีเหตุสุดวิสัยตามขอ ๒๒.๓ ขอ ๔๐. การวัดและประมวลผลการศึกษาใหเปนไปตามหมวด ๘ ของขอบังคับนี้ - 124 - ขอ ๔๑. การชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในระเบียบของสถาบัน หมวด ๑๓ เครื่องแบบนักศึกษา -------------------ขอ ๔๒. เครื่องแบบนักศึกษาปกติของนักศึกษาชาย และนักศึกษาหญิง และเครื่องแบบในงานพระ ราชพิธี รัฐพิธี ใหเปนไปตามขอบังคับของสถาบัน หมวด ๑๔ วินัยนักศึกษา -------------------ขอ ๔๓. นักศึกษาตองรักษาวินัยตามขอบังคับนี้โดยเครงครัดอยูเสมอ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามให ถือวาผูนั้นกระทําผิดทางวินัย และตองไดรับโทษตามที่กําหนดไวในขอบังคับนี้ ๔๓.๑ นักศึกษาตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอยตามหมวด ๑๓ ๔๓.๒ นักศึกษาตองแสดงความเคารพตออาจารย หรือบุคลากรของสถาบัน ๔๓.๓ นั ก ศึ ก ษาต อ งเป น ผู มี กิ ริ ย ามารยาทเรี ย บร อ ย และประพฤติ ต น หรื อ วางตนให เหมาะสม และตองไมประพฤติตนในสิ่งที่อาจจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียชื่อเสียง หรือเกียรติศักดิ์แกตนเอง หรือสถาบัน ๔๓.๔ นักศึกษาตองไมสูบบุหรี่ในระหวางที่มีการเรียนการสอน การสอบ หรือในสถานที่ ที่หามสูบบุหรี่ภายในสถาบัน ๔๓.๕ นักศึกษาตองไมเสพสุราหรือของมึนเมาในสถาบัน ๔๓.๖ ความผิดวินัยอยางรายแรง มีดังนี้ ๔๓.๖.๑ การกลั่ น แกลง จนเปน เหตุใ หผูอื่ น ไดรับความเสี ย หาย รวมถึ งการยุย ง สงเสริม หรือสนับสนุนหรือเปนตัวการในการกอใหเกิดเหตุการณไมสงบขึ้นภายในบริเวณสถาบัน เชน การ กอเหตุวิวาท การทําลายทรัพยสินของทางสถาบัน การประพฤติตนเปนอันธพาล หรือการชุมนุมประทวงเกิน กวา ๑๐ คนขึ้นไปโดยละเมิดกฎหมาย เปนตน ๔๓.๖.๒ การเสพสุราของมึนเมา อันเปนเหตุใหเกิดตามขอ ๔๓.๖.๑ ๔๓.๖.๓ การเสพยาเสพติดใหโทษที่ผิดกฎหมาย ๔๓.๖.๔ การพกพาอาวุธ หรือสิ่งที่ผิดกฎหมาย ๔๓.๖.๕ ทุจริตในการสอบ ๔๓.๖.๖ การมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความไมเคารพนับถืออาจารยหรือบุคลากร ของสถาบันที่ปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ซึ่งคณะกรรมการรักษาวินัยวินิจฉัยแลววาผิดวินัยอยางรายแรง - 125 - ๔๓.๖.๗ การปลอมแปลงลายมือชื่อผูปกครอง หรือลายมือชื่อบุคคลอื่น เพื่อใชเปน หลักฐานในการติดตอกับสถาบัน อันเปนเหตุที่ทําใหสถาบันไดรับความเสียหาย ๔๓.๖.๘ โทษอื่นๆ ที่คณะกรรมการรักษาวินัยวินิจฉัยวาเปนโทษรายแรง และเสนอ อธิการบดีพิจารณาแลวเห็นชอบวารายแรง ๔๓.๖.๙ การกระทําการใดๆ ที่ทําใหสถาบันไดรับความเสียหายหรือเสียชื่อเสียง เชน รับจางสอบแทนผูอื่น ทั้งในและนอกสถาบัน เปนตน ขอ ๔๔. โทษทางวินัยอยางไมรายแรงมี ๓ สถาน คือ ๔๔.๑ วากลาวตักเตือน ๔๔.๒ ภาคทัณฑ ๔๔.๓ การใหชดใชคาเสียหาย ขอ ๔๕. โทษทางวินัยอยางรายแรงมี ๓ สถาน คือ ๔๕.๑ พักการเรียน ๔๕.๓ ใหออก ๔๕.๔ ไลออก ขอ ๔๖. นักศึกษาผูใดกระทําความผิดวินัยตามขอ ๔๓ ยกเวนขอ ๔๓.๖.๕ ใหอธิการบดีสั่งลงโทษ ตามควรแกกรณีใหเหมาะสมกับความผิด แตถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนําเหตุดังกลาวมาประกอบการ พิจารณาสําหรับการลดโทษดวยก็ได ขอ ๔๗. ในกรณีที่นักศึกษากระทําความผิดทุจริตในการสอบ ตามขอ ๔๓.๖.๕โดยมีหลักฐานแหงการ ทุจริตชัดแจง ใหหัวหนาสวนงานวิชาการทําหนาที่พิจารณาหรือสอบสวนการกระทําผิดของนักศึกษา ใหแลว เสร็จภายใน ๕ วันทําการนับตั้งแตวันที่ตรวจพบการทุจริต และเสนออธิการบดีใหลงโทษ ตามขอ ๒๒.๔ ขอ ๔๘. นักศึกษาผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําความผิดทางวินัย ตามขอ ๔๓ ยกเวนกรณีการทุจริต การสอบตามขอ ๔๓.๖.๕ ใหคณะกรรมการรักษาวินัยที่สถาบันตั้งขึ้น มีอํานาจดําเนินการสอบสวนทางวินัย ตอนักศึกษาผูถูกกลาวหานั้นไดโดยทันที เพื่อใหไดความจริงดวยความยุติธรรมและเสนออธิการบดีใหลงโทษ ตามควรแกความผิดใหแลวเสร็จภายใน ๑๕ วันทําการ เมื่ออธิการบดีสั่งลงโทษแลว ใหคณะกรรมการรักษา วินัยแจงแกนักศึกษาโดยไมชักชา กรณีโทษทางวินัยอยางรายแรงตามขอ ๔๗ ใหแจงสํานักทะเบียนและ ประมวลผลดวย การแตงตั้ง การกําหนดอํานาจหนาที่ และการประชุมของกรรมการรักษาวินัยนักศึกษาใหจัดทําเปน ประกาศของสถาบัน ขอ ๔๙. นักศึกษาผูใดถูกสั่งลงโทษตามขอ ๔๖ หรือ ๔๗ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตออธิการบดีได โดย ใหอุทธรณภายใน ๓๐ วันนับตั้งแตวันทราบคําสั่งทุกกรณี และตองอุทธรณเปนหนังสือลงลายมือชื่อของผู อุทธรณดวย - 126 - เมื่ออธิการบดีไดวินิจฉัยแลว ใหคณะกรรมการรักษาวินัยที่สถาบันตั้งขึ้นดําเนินการตามที่อธิการบดี สั่งการตอไปโดยไมชักชา หมวด ๑๕ การพิจารณาเกียรติและศักดิข์ องนักศึกษา ซึ่งจะใหไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ----------------------ขอ ๕๐. นักศึกษาซึ่งเปนผูมีเกียรติและศักดิ์สมควรพิจารณาเสนอสภาสถาบันใหไดปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของสถาบัน นอกจากจะตองเปนผูซึ่งมีวัฒนธรรม คุณธรรม เปนผูซึ่งรักษา ชื่อเสียง เกียรติคุณ และประโยชนของสถาบัน เปนผูซึ่งสุภาพเรียบรอยปฏิบัติตามวินัยของนักศึกษา ขอบังคับ และระเบียบของสถาบันแลว จะตองมีพฤติการณดานความประพฤติ ดังนี้ ๕๐.๑ ไมเปนผูซึ่งมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบโดยคําวินิจฉัยของแพทย หรือผูที่ศาลสั่ง ใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ หรือไรความสามารถ ๕๐.๒ ไมเปนผูเคยถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก หรืออยูในระหวางตองหา คดีอาญา เวนแตเปนความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท ๕๐.๓ ไม เป นผู ซึ่งประพฤติ ชั่ว บกพรองในศีลธรรม ประพฤติตนเปนคนเสเพล เสพ เครื่องดองของเมาจนไมสามารถครองสติได มีหนี้สินรุงรัง หมกมุนในการพนัน ประพฤติผิดฐานชูสาว ซึ่ง ทําใหเสื่อมเสียชื่อเสียง ๕๐.๔ ไมเ ปน ผู ซึ่ง กอ ให เ กิ ด ความแตกแยกความสามั คคี หรือก อการวิว าทในระหว า ง นักศึกษาดวยกัน หรือระหวางนักศึกษาของสถาบัน กับนักศึกษาหรือนักเรียนในสถาบันอื่นหรือบุคคลอื่น ๕๐.๕ ไมเปนผูซึ่งแสดงอาการกระดางกระเดื่อง ลบหลูดูหมิ่นตอคณาจารย หรือบุคลากร ของสถาบันที่ปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ๕๐.๖ ไมเปนผูซึ่งกาวกายในอํานาจการบริหารงานของสถาบัน ๕๐.๗ ไมเปนผูซึ่งจงใจ หรือกระทําการอันกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกทรัพยสนิ ของสถาบัน ๕๐.๘ ไมมีหนี้สินผูกพันกับสถาบัน ขอ ๕๑. ในการขอเขารับพระราชทานปริญญาบัตร ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่สถาบัน กําหนด ตามวัน เวลา สถานที่ ที่กําหนดในปฏิทินการศึกษา พรอมตองชําระคาธรรมเนียมการขึ้นทะเบียน ประกาศนียบัตรหรือปริญญาตามที่สถาบันกําหนด ขอ ๕๒.นักศึกษาซึ่งขาดคุณสมบัติขอใดขอหนึ่งตามความในขอ ๕๐ ไดชื่อวาเปนผูซึ่งไมมีเกียรติและ ศักดิ์ ไมสมควรไดรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของสถาบัน และอาจไดรับการพิจารณา ดังนี้ ๕๒.๑ ไมเสนอชื่อใหไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของสถาบัน - 127 - ๕๒.๒ ชะลอการเสนอชื่อใหไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีกําหนด ๑ ถึง ๓ ปการศึกษา ทั้งนี้ตามลักษณะความผิดที่ไดกระทํา ขอ ๕๓. ในทุกสิ้นปการศึกษา หากมีนักศึกษาที่ขาดคุณสมบัติตามขอ ๕๐ ใหคณะกรรมการประจํา สวนงานวิชาการดําเนินการตามขอ ๕๒ และสงผลการพิจารณามาที่สํานักทะเบียนและประมวลผล เพื่อ นําเสนอสภาสถาบันพิจารณา นักศึกษาผูใดที่สภาสถาบันพิจารณาเห็นสมควรไมเสนอชื่อใหไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ถาเห็นวาตนไมไดรับความเปนธรรม ใหมีสิทธิอุทธรณได โดยทําเปน หนังสือลงลายมือชื่อของผูอุทธรณตออธิการบดี พรอมทั้งทําสําเนารับรองถูกตองยื่นตอหัวหนาสวนงาน วิชาการภายใน ๑๕ วันนับตั้งแตวันที่ทราบวาตนเปนผูไมสมควรไดรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ขอ ๕๔. ใหหัวหนาสวนงานวิชาการสงคําชี้แจงเกี่ยวกับการอุทธรณนั้นมายังสถาบัน ภายใน ๗ วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับสําเนาหนังสืออุทธรณอันถูกตองตามขอ ๕๓ ขอ ๕๕. เมื่ออธิการบดีไดรับคําอุทธรณพรอมทั้งคําชี้แจงของหัวหนาสวนงานวิชาการแลว ใหนําเสนอ ที่ประชุมคณะกรรมการผูบริหารของสถาบันพิจารณาใหแลวเสร็จโดยเร็ว เพื่อนําเสนอสภาสถาบันพิจารณา วินิจฉัยตอไป หมวด ๑๖ คาธรรมเนียมการศึกษา -----------------ขอ ๕๖. ประเภทคาธรรมเนียมการศึกษาที่เรียกเก็บ มีดังนี้ ๕๖.๑ คาธรรมเนียมการศึกษาแรกเขา ๕๖.๒ คาบํารุงการศึกษา ๕๖.๓ คาหนวยกิต ๕๖.๔ คาอุดหนุน ๕๖.๕ คาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย ๕๖.๖ คารักษาสถานภาพนักศึกษา ๕๖.๗ คาธรรมเนียมเรียกเก็บประเภทอื่นๆ รายละเอียดและเงื่อนไขการเรียกเก็บเงินประเภทตาง ๆ ตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่ กําหนดในระเบียบของสถาบัน ขอ ๕๗. การเก็บคาธรรมเนียมการศึกษา ใหปฏิบัติดังนี้ ๕๗.๑ อัตราการเรียกเก็บคาธรรมเนียมการศึกษาตามขอ ๕๖ ใหจัดทําเปนระเบียบของ สถาบันโดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณะกรรมการผูบริหารของสถาบัน กอนนําเสนอสภาสถาบันเพื่อให ความเห็นชอบตอไป - 128 - ๕๗.๒ การผอนผันการชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ใหเปนอํานาจของผูอํานวยการสํานัก ทะเบียนและประมวลผล โดยใหผอนผันไดไมเกิน ๑๒ สัปดาหนับตั้งแตวันเปดภาคการศึกษา โดยกรณีที่มี ความจําเปนตองผอนผันเกินกวาระยะเวลาที่กําหนดนี้ ใหขออนุมัติตออธิการบดีเปนรายกรณีไป การยกเวนไม ตองชําระคาธรรมเนียมการศึกษาใหเปนอํานาจของอธิการบดี ๕๗.๓ ในรายวิ ช าที่ ส ถาบั น ประกาศให ป ด รายวิ ช านั้ น และนั ก ศึ ก ษาไม ป ระสงค จ ะ เปลี่ยนไปเรียนรายวิชาอื่น ใหนักศึกษาขอคาหนวยกิตคืนได ยกเวนเปนกรณีคาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมา จาย ๕๗.๔ การขอคืนคาธรรมเนียมการศึกษา ในกรณีอื่น ๆ ใหเปนอํานาจของอธิการบดีในการ วินิจฉัย หมวด ๑๗ ทุนการศึกษา -------------------ขอ ๕๘. ใหสถาบันจัดสรรทุนการศึกษาใหกับนักศึกษาเปนรายภาคการศึกษา หรือ รายปการศึกษา โดยประเภทของทุน จํานวนทุน วิธีการคัดเลือก เงื่อนไขการใหทุน ใหเปนไปตามระเบียบสถาบันวาดวยกอง ทุนการศึกษา ทั้งนี้จะตองสงเสริมและสนับสนุนนักศึกษาผูขาดแคลนทุนทรัพยอยางแทจริง ใหมีโอกาสเรียน จนสําเร็จปริญญาตรีดวย บทเฉพาะกาล -------------------ขอ ๕๙. ในกรณี ที่เ กิ ด ป ญ หาการปฏิ บั ติต ามขอ บังคั บนี้ ใหอ ธิ ก ารบดี สั่งการใหเ ป น ไปด ว ยความ เหมาะสมตามควรแกกรณีเปนเรื่องๆ ไป โดยในกรณีที่เกี่ยวกับนักศึกษาที่เขาศึกษากอนที่ขอบังคับนี้จะมีผลใช บังคับ ใหอธิการบดีวินิจฉัย โดยคํานึงถึงขอบังคับ ระเบียบ หรือหลักเกณฑเดิมประกอบดวย ขอ ๖๐. ในระหวางที่ยังไมมีระเบียบ ประกาศ คําสั่ง หรือมติเพื่อปฏิบัติการตามขอบังคับนี้ ใหนํา ประกาศ คําสั่ง หรือมติ ซึ่งไดออกตามขอบังคับสถาบัน วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๙ และที่แกไขเพิ่มเติม มาใชบังคับโดยอนุโลมไปพลางกอนเทาที่ไมขัดหรือแยงกับขอบังคับนี้ จนกวาจะไดมี ระเบียบ ประกาศ คําสั่ง หรือมติเพื่อปฏิบัติการตามขอบังคับนี้ ประกาศ ณ วันที่ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ พลเอก (สุรยุทธ จุลานนท) นายกสภาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - 129 - ภาคผนวก ข. การประกันคุณภาพหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 20 (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) - 130 - - 131 - รูปแบบการประกันคุณภาพหลักสูตรระดับปริญญาตรี การประกันคุณภาพหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 21 (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) ประกอบดวยประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ 1. การบริหารหลักสูตร 2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 3. การสนับสนุนและการใหคาํ แนะนํานักศึกษา 4. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใ ชบัณฑิต โดยทั้ง 4 ระบบมีแผนการดําเนินงานดังนี้ 1. การบริหารหลักสูตร 1.1 ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร ปรัชญาของหลักสูตร ในปจจุบันเปนที่ทราบกันดีวา วิศวกร เปนวิชาชีพหนึง่ ที่มีความสําคัญและมีบทบาทในสังคมไทย โดยเฉพาะในยุคที่ประเทศไทยจําเปนตองหันมาพึ่งตนเอง โดยการสรางเทคโนโลยีขึ้นใชเองภายในประเทศ วิศวกรคอมพิวเตอรเปนอาชีพหนึ่งที่มหี นาที่สรางสรรค และประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพื่อความเปนอยูที่ ดีขึ้นของคนในสังคม ดังนั้นบุคคลที่สําเร็จการศึกษาเปนวิศวกรคอมพิวเตอร ควรไดรับการฝกฝนใหมีทั้งความรู พื้นฐานในสาขา จัดระบบทั้งการคิดและการกระทํา ตลอดจนความคิดสรางสรรค และความรับผิดชอบในวิชาชีพ และสังคม กอนเขาสูการปฏิบัติงานจริง หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรนี้ไดออกแบบขึ้นโดยมีเปาหมายเพื่อสราง วิศวกรคอมพิวเตอร ที่สามารถสําเร็จการศึกษาออกไปทํางานในสาขาตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาเปน ทางดานคอมพิวเตอรซอฟตแวร ดานคอมพิวเตอรฮารดแวร หรือดานระบบเครือขายคอมพิวเตอร โดยหลักสูตรนี้ จะใหนักศึกษาไดเรียนรูในรายวิชาที่เปนพื้นฐานของสาขาวิชาตาง ๆ และรายวิชาที่เปนพื้นฐานที่ จําเปนตองใชใน การศึกษาตอในอนาคต นอกจากนั้นหลักสูตรนี้ไดเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเลือกเรียนในสาขาวิชาที่หลากหลาย ตามตองการ ไมวาจะเปนการเรียนรูในทางกวาง หรือการเรียนรูที่เจาะลึกเปนพิเศษในบางสาขา นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ จะมีความรูความชํานาญในสาขาคอมพิวเตอร ทั้งดานทฤษฎี และปฏิบัติ เพียงพอตอการศึกษาในระดับสูงขึ้น และเพียงพอตอการเขาสูตลาดแรงงานไดอยางมั่นใจ วัตถุประสงค 1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรูพื้นฐานทางคอมพิวเตอรทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติสําหรับตลาดแรงงานและ พรอมสําหรับการศึกษาในระดับสูงตอไป 2. ฝกหัดและอบรมนักศึกษาในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรใหเปนผูมีวินัย ความคิด และการทํางาน อยางมีระบบ พรอมดวยคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสม - 132 - 1.2 การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา - ตองเรียนครบตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในหลักสูตรและตองไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตา่ํ กวา 2.00 จากระบบ 4 แตมระดับคะแนน - ใหเปนไปตามขอบังคับของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา ระดับปริญญาตรี 1.3 การจัดการ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร เปดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) โดยมีหลักสูตรในสังกัดภาควิชา จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2545) การบริหารหลักสูตรดําเนินงานโดยคณะกรรมการประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรซึ่งทําหนาที่ กําหนดแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การประเมินผล ประกอบดวย 1.3.1 คณะกรรมการประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร กรรมการภาควิชาฯ 1. คณาจารยทั้งภาควิชาฯ 1.3.2 อาจารยและเจาหนาที่ อาจารยประจําภาควิชา 3. รศ.ดร. ครรชิต ไมตรี 4. รศ.ดร. บุญวัฒน อัตชู 5. รศ.ดร. ศุภมิตร จิตตะยโศธร 6. รศ.ดร. บุญธีร เครือตราชู 7. รศ.ดร. สมศักดิ์ มิตะถา 1. รศ. ประทีป บัญญัตินพรัตน 8. รศ. กฤตวัน ศิริบูรณ 9. ผศ.ดร. สมศักดิ์ วลัยรัชต 10. ผศ.ดร. ศักดิ์ชัย ทิพยจักษุรัตน 11. ผศ.ดร. วิศิษฏ หิรญ ั กิตติ 12. ผศ.ดร. ชุติเมษฏ ศรีนิลทา 13. ผศ.ดร. สุรินทร กิตติธรกุล 14. ผศ.ดร. เกียรติกูล เจียรนัยธนะกิจ 15. ผศ.ดร. อรฉัตร จิตตโสภักตร 16. ผศ. ธนา หงษสุวรรณ 17. ผศ. อภิเนตร อูนากูล 18. ดร. วรวัฒน ลิ้มโภคา 19. ดร. วัชระ ฉัตรวิริยะ 20. ดร. อรัญญา วลัยรัชต - 133 - 21. ดร. ปกรณ วัฒนจตุรพร 22. อ. ประสาร ดังติสานนท 2. อ. วิบูลย พรอมพานิชย 23. อ. บัณฑิต พัสยา 24. อ. คณัฐ ตังสินานนท 25. อ. อํานาจ ขาวเน 26. อ. เจริญ วงษชุมเย็น 27. อ. วัจนพงศ เกษมศิริ 3. อ. ชมพูนุท จินจาคาม 28. อ. เกียรติณรงค ทองประเสริฐ 29. อ. ธนัญชัย ตรีภาค 30. อ. จิระศักดิ์ สิทธิกร 31. อ. อัครเดช วัชระภูพงษ 32. อ. สุภกิจ นุตยะสกุล เจาหนาที่ประจําภาควิชา 4. นาง ฉวีวรรณ มงคลลาภกิจ 5. นาง กนกทิพย มิตะถา 6. นาย อมต หลวงพล 7. นางสาว อวยพร นิ่งนอย 8. นางสาว รัตธิตา นิลจักร 1.4 การจัดการเรียนการสอน 1.4.1 อาจารยผูรับผิดชอบการเรียนการสอนในแตละรายวิชาทั้งในหลักสูตรใหมและหลักสูตร ปรับปรุง จะตองมีประมวลรายวิชา (Course Syllabus) (ตามแบบฟอรมหมายเลข 1) ที่กําหนดไวโดย คณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา จะดําเนินการสุมตัวอยางเพื่อตรวจสอบคุณภาพการเรียนการสอน อยางนอยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง 1.4.2 ในแตละวิชาเปดโอกาสใหเชิญบุคคลภายนอกที่มีประสบการณวิชาชีพ ในสาขาที่เกี่ยวของ กับวิชานั้นมารวมสอน รวมทัง้ มีการพานักศึกษาไปทัศนศึกษา 1.4.3 การเรียนการสอนแตละวิชาควรจะประกอบดวย 3 สวน ไดแก - การบรรยาย และ/หรือ ปฏิบัติการ - การคนควาดวยตนเอง - การอภิปรายปญหา ซึ่งทั้ง 3 สวน แบงสัดสวนความเหมาะสมของแตละสาขาวิชา 1.4.4. ควบคุมการเรียนการสอนใหเปนไปตามประมวลรายวิชา (Course Syllabus) ที่กาํ หนดไว โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา จะดําเนินการสุมตัวอยางเพื่อตรวจสอบคุณภาพการเรียนการสอน อยางนอยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง 1.4.5 แตละวิชามีการประเมินความเขาใจและความรับผิดชอบของนักศึกษาตอวิชานั้น ดังนี้ - 134 - - การประเมินความรูกอนเรียน - งานที่ไดรับมอบหมาย ไดแก รายงาน และ/หรือ การเสนอผลงาน - การสอบประเมินความรู ไดแก การสอบขอเขียน และ/หรือ การสอบปากเปลา 1.5 การพัฒนาหลักสูตร ประกอบดวย 1.5.1 มีการเพิม่ หรือปรับวิชาที่มีความสําคัญในชวงเวลานั้นๆ ได โดยใหเปนไปตามขั้นตอนการ เสนอหลักสูตรของสถาบัน 1.5.2 มีการติดตามประเมินผลหลักสูตร โดยหลักสูตรเดิมใหมีการติดตามประเมินผลหลักสูตร ทุก 5 ป โดยใหผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวของจากหนวยงานภายนอกและภายในสถาบันรวมกันประเมินผล 1.5.3 สาระสําคัญในการประเมินผลหลักสูตร - โครงสรางหลักสูตร - เนื้อหาของรายวิชาเพื่อใหมีความสัมพันธสอดคลองกับสาขาวิชา และมีความทันสมัย 1.6. การประเมิน ไดแก 1.6.1 การประเมินการเรียนการสอน โดยมีสาระในการประเมิน ดังนี้ - ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) สอดคลองกับรายละเอียดของวิชา (Course Description) - การสอนของอาจารยผูสอนเปนไปตามแผนที่กําหนด - การประเมินผูสอนจากผูเรียน ตามแบบฟอรมหมายเลข 2 (ในหลักสูตรใหมและหลักสูตร ปรับปรุง) ผูรับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา ความถี่ในการประเมิน ทุกภาคการศึกษา 1.6.2 การประเมินการวัดผลการศึกษา มีความสัมพันธสอดคลองกับปรัชญาของหลักสูตร และ วัตถุประสงคของภาควิชา ผูรับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา ความถี่ในการประเมิน ทุกภาคการศึกษา - 135 - 2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 2.1 งบประมาณ ใชงบประมาณ.ประจํา หมวดคาวัสดุ คาใชสอย คาตอบแทน และครุภัณฑของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะ วิศวกรรมศาสตร ที่ใชในการผลิตบัณฑิตหลักสูตรนี้เฉลี่ยคาใชจาย 60,000 บาท/คน/ป 2.2 สถานทีแ่ ละอุปกรณการสอน 2.2.1 สถานที่ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2.2.2 อุปกรณ - อุปกรณที่มอี ยูแลว  เครื่องระดับมินิคอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการยูนิกซ จํานวน 2 เครื่อง  เครื่องคอมพิวเตอรแมขายที่ใชระบบปฏิบัติการตระกูลวินโดวสและตระกูลยูนิกซ จํานวน 4 เครือ่ ง  เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย จํานวน 200 เครือ่ ง  ชุดฝกการทดลองดิจิตอลโดยใชเทคโนโลยี FPGA จํานวน 60 ชุด  ชุดฝกการเชื่อมตอดวยไมโครโพรเซสเซอร จํานวน 40 ชุด  ชุดฝกการทดลองการสื่อสารขอมูล จํานวน 20 ชุด  ชุดฝกการทดลองเครือขายคอมพิวเตอร จํานวน 20 ชุด - อุปกรณที่ตองการในอนาคต  เครื่องแมขายคอมพิวเตอร  เครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย  ชุดฝกการทดลองเครือขายคอมพิวเตอรขั้นสูง 36 43 44 45 2.3 หองสมุด ชื่อหองสมุด 1.สํานักหอสมุดกลาง 2.หองสมุดคณะ วิศวกรรมศาสตร 3.หองสมุดคณะ สถาปตยกรรมศาสตร จํานวนหนังสือ ปจจุบัน(เลม) สถิติจํานวนทรัพยากรสารนิเทศ จํานวน จํานวน จํานวน วารสาร วารสาร หนังสือพิมพ (ชื่อเรื่อง) เย็บเลม (เลม) (ชือ่ เรื่อง) จํานวนโสตทัศนวัสดุ (มวน,แผน, ตลับ) ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ 81912 50464 1380 299 3258 4118 18 2 วีดีโอ ซีดี เทป รอม 2868 12463 23037 30051 38 156 449 5066 11 2 417 - - 16388 22584 91 72 401 12778 9 2 17 10 - เทปคาสเซ็ท 1391 - 136 - ชื่อหองสมุด 4.หองสมุดคณะ เทคโนโลยีการเกษตร 5.หองสมุดคณะ วิทยาศาสตร 6.หองสมุดคณะครุศาสตร อุตสาหกรรม 7.หองสมุดคณะเทคโนโลย สารสนเทศ 8.หองสมุดวิทยาเขตชุมพร รวม จํานวนหนังสือ ปจจุบัน(เลม) จํานวน วารสาร (ชื่อเรื่อง) จํานวน วารสาร เย็บเลม (เลม) จํานวน หนังสือพิมพ (ชื่อเรื่อง) จํานวนโสตทัศนวัสดุ (มวน,แผน, ตลับ) ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ ไทย อังกฤษ วีดีโอ เทป ซีดี รอม เทปคาสเซ็ท 23215 9943 252 144 1967 2598 7 1 36 - - 7357 19683 107 201 133 1347 6 1 - - - 30549 11881 261 86 771 345 8 1 - - - 4630 4327 79 15 238 59 6 1 17 343 - 8485 195573 2659 151592 13 2221 973 7217 26311 4 69 1 11 3355 12816 1391 3. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 3.1 มีทนุ การศึกษาเพื่อสนับสนุน (ระบุ) 3.1.1 กองทุนกูย ืมเพื่อการศึกษา 3.1.2 ทุนงบประมาณแผนดิน 3.1.3 ทุนยกเวนคาหนวยกิต 3.1.4 ทุนทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจากหนวยงานภาคเอกชน 3.2 มีระบบอาจารยที่ปรึกษา ในการเปนที่ปรึกษาทางวิชาการ ตลอดจนสามารถใหคําปรึกษาเชิงจิตวิทยาแก นักศึกษา เพือ่ ใหนักศึกษาสามารถลดความวิตกกังวล เขาใจและยอมรับตนเองไดเปนอยางดี ตลอดจนสามารถ พัฒนาตนเองไดอยางเต็มศักยภาพ 4. ความตองการของตลาดแรงงาน และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบณ ั ฑิต 4.1 ใหมกี ารติดตามผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาของบัณฑิต ความกาวหนาของบัณฑิต (ตามแบบฟอรมหมายเลข 3) โดยใหจัดทําเฉพาะในหลักสูตรปรับปรุง ผูรับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา ความถี่ในการประเมิน ทุกป 4.2 มีการติดตามความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต (ตามแบบฟอรมหมายเลข 4) โดยใหจัดทําเฉพาะในหลักสูตรปรับปรุง และ (ตามแบบฟอรมหมายเลข 5) โดยจัดทําเฉพาะในหลักสูตรใหม ผูรับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุณภาพของภาควิชา ความถี่ในการประเมิน ทุกป ผูกรอกเอกสาร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร วันที่ …...... เดือน …………………. พ.ศ …..…… - 137 - ภาควิชา...................................................คณะ............................................................. แบบฟอรมหมายเลข 1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง หนา 1/1 ผูออกเอกสาร....................................................................................วันทีอ่ อกเอกสาร......................................... ประมวลรายวิชา ( Course Syllabus) 1. หลักสูตร.....................................สาขาวิชา...............................ภาคการศึกษา................ปการศึกษา............... 2. รหัสวิชา.............................................................................................จํานวนหนวยกิต..................................... ชือ่ วิชา (ภาษาไทย).......................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ)..................................................................................................................................... 3. ปรัชญาของหลักสูตร......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. วัตถุประสงคของวิชา......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. 5. คําอธิบายรายวิชา (Course Description).......................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. วิธีการสอน........................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 7. อุปกรณสื่อการสอน........................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. 8. การประเมินผลการเรียน.................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. 9. การใหโอกาสนอกเวลาเรียนแกนักศึกษาในการเขาพบและใหคําปรึกษาในดานการเรียน................................. .............................................................................................................................................................................. 10. เอกสารประกอบการเรียน................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 11. ตารางกิจกรรมที่เกีย่ วของกับการเรียน............................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 12. ผูสอน.............................................................................................................................................................. ลงนาม........................................(ผูรายงาน) (.......................................................) วันที่.............เดือน.......................พ.ศ. 25....... - 138 - ภาควิชา..........................................................................คณะ........................................................ แบบฟอรมหมายเลข 2 หนา 1/1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ผูออกเอกสาร......................................................................................................................วันทีอ่ อกเอกสาร........................ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาตอการเรียนการสอน ชื่ออาจารยผูสอน.............................................................................................................................................................................. รหัสวิชา...................................................................ชือ่ วิชา..................................................................จํานวนหนวยกิต................. ภาคการศึกษา...........................................................ปการศึกษา........................................................ ขอมูลผูประเมิน ผูประเมินกําลังศึกษาอยูชนั้ ปที่...........................................ระดับปริญญา....................................................................................... ชื่อหลักสูตร..........................................................................สาขาวิชา............................................คณะ......................................... คําชี้แจง 1. การออกแบบสอบถามครั้งนีไ้ มมผี ลตอการเรียน การสอบของนักศึกษา 2. เปนการรวบรวมขอคิดเห็นของนักศึกษา เพือ่ ไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งตอไป 3. กําหนดใหการสอบถามความคิดเห็นแตละรายการมี 5 ระดับ ดังแสดงในตารางขางลางนี้ นักศึกษาเปนผูก รอกตามรายการสอบถามนี้โดยใหทาํ เครื่องหมาย (  ) ลงในชองลําดับความคิดเห็นที่กําหนด ลําดับที่ รายการสอบถาม 5 ดีเดน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. ระดับความคิดเห็น 4 3 2 ดีมาก ดี พอใจ 1 ตองปรับปรุง เนื้อหาวิชามีความเหมาะสมและทันสมัย 2.1 อาจารยผูสอนมีความรูในเนื้อหาวิชา 2.2 อาจารยผูสอนมีประสบการณในเนื้อหาวิชา อาจารยมีความสามารถในการสอนใหนักศึกษาเขาใจ เนื้อหาวิชาไดดี อาจารยผูสอนไดทําการสอนตรงตามแผนการสอนที่กาํ หนด ลักษณะการสอนของอาจารยแสดงวามีการเตรียมการสอนที่ดี รูปแบบการเรียนการสอน - การบรรยาย/ปฏิบตั ิ - การอภิปรายปญหา - การคนควา รูปแบบการประเมินผลการเรียนการสอน - การสอบขอเขียน - การสอบปากเปลา - การคนควา การใหโอกาสนอกชัน้ นอกชั้นเรียนแกนกั ศึกษาไดพบและให คําแนะนําดานการเรียน ความคิดเห็นอืน่ ๆ............................................................................................................................................................................. แนวปฏิบัติ 1. ใหนักศึกษากรอกแบบสอบถามนี้ในสัปดาหสุดทายของการเรียนการสอน 2. ในกรณีที่มอี าจารยผูสอนหลายทานใน 1 วิชา ใหนกั ศึกษากรอกแบบสอบถามของอาจารยทกุ ทาน 3. ใหนักศึกษารวบรวมแบบสอบถามและปดผนึกนําสงภาควิชา................................คณะ................... - 139 - ภาควิชา..........................................................................คณะ........................................................ แบบฟอรมหมายเลข 3 หนา 1/1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ผูออกเอกสาร......................................................................................................................วันทีอ่ อกเอกสาร........................ แบบสอบถามผลสัมฤทธิแ์ ละความกาวหนาของบัณฑิต ผูประเมิน................................................................................................................................................................................. หลักสูตร.................................................................................สาขาวิชา...........................................คณะ................................ สถานทีท่ ํางาน.......................................................................................................................................................................... ที่อยูปจจุบัน............................................................................................................................................................................. วันที่.............................................เดือน............................................................................พ.ศ................................................. ลําดับที่ รายการสอบถาม ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 ดีเดน ดีมาก ดี พอใจ ตองปรับปรุง 1. สามารถศึกษาตอในสาขาเดียวกัน 2. สามารถศึกษาตอตางสาขา 3. สามารถนําความรูไปทํางานไดตรงตามความตองการของ หนวยงาน 4. ความรูทไี่ ดเพียงพอกับการทํางาน 5. ประสบการณทไี่ ดจากการทําวิทยานิพนธ/สารนิพนธ ความคิดเห็นอืน่ ๆ (ถามี).................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ )................................................ผูประเมิน (.......................................................................) - 140 - ภาควิชา..........................................................................คณะ........................................................ แบบฟอรมหมายเลข 4 หนา 1/1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ผูออกเอกสาร......................................................................................................................วันทีอ่ อกเอกสาร........................... แบบสอบถามความคิดเห็นของผูประกอบการเกีย่ วกับความพึงพอใจตอคุณภาพบัณฑิต ชื่อนักศึกษา................................................................................................................................................................................ ภาคการศึกษา...........................................................ปการศึกษา........................................................ ขอมูลผูประเมิน ชื่อสถานประกอบการ................................................................................................................................................................... ที่ตั้ง.............................................................................................................................................................................................. คําชี้แจง 1. การออกแบบสอบถามครั้งนีไ้ มมผี ลตอการเรียน การสอบของนักศึกษา 2. เปนการรวบรวมขอคิดเห็นของผูป ระกอบการ เพือ่ ไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน 3. กําหนดใหการสอบถามความคิดเห็นแตละรายการมี 5 ระดับ ดังแสดงในตารางขางลางนี้ นักศึกษาเปนผูก รอกตามรายการสอบถามนี้โดยใหทาํ เครื่องหมาย (  ) ลงในชองลําดับความคิดเห็นที่กําหนด ลําดับที่ รายการสอบถาม 5 ดีเดน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. ระดับความคิดเห็น 4 3 2 ดีมาก ดี พอใจ 1 ตองปรับปรุง มีความรอบรูในภาคทฤษฎีในสาขาวิชา มีความสามารถในภาคปฏิบัติในสาขาวิชา สามารถเปนผูนําและผูรวมงานที่ดีได มีทักษะในการสื่อสารที่ดี มีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับเพื่อนรวมงานในระดับ ตางๆ ไดดี มีความสามารถในการทํางานเปนทีม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห วิเคราะหการ แกปญหา การตัดสินใจได มีความสามารถในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ มีความซื่อสัตย ขยัน เขมแข็ง อดทน ความเปนผูมีวินัยในการปฏิบัติงาน มีความตรงตอเวลา ภาพรวมความพึงพอใจตอคุณภาพบัณฑิต ความคิดเห็นอืน่ ๆ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... แนวปฏิบัติ 1. ใหผูประกอบการกรอกแบบสอบถามนีใ้ นสัปดาหสุดทายของการเรียนการสอน 2. ใหผูประกอบการรวบรวมแบบสอบถามและปดผนึกนําสงภาควิชา................................คณะ.................... - 141 - ภาควิชา..........................................................................คณะ........................................................ แบบฟอรมหมายเลข 5 หนา 1/1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ผูออกเอกสาร......................................................................................................................วันทีอ่ อกเอกสาร........................ แบบสอบถามความคิดเห็นของผูประกอบการเกีย่ วกับความตองการของตลาดแรงงาน สังคม ขอมูลผูประเมิน ชื่อสถานประกอบการ................................................................................................................................................................. ที่ตั้ง............................................................................................................................................................................................ คําชี้แจง 1. การออกแบบสอบถามครั้งนีไ้ มมผี ลตอการเรียน การสอบของนักศึกษา 2. เปนการรวบรวมขอคิดเห็นของผูป ระกอบการ เพือ่ ไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน 3. โปรดเรียงลําดับลักษณะบัณฑิตทานตองการเพื่อไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการของทาน 4. ผูประกอบการเปนผูกรอกตามรายการสอบถามนี้โดยใหใสหมายเลข (1,2,3,....) ลงในชองตามลําดับความสําคัญ ลําดับที่ความสําคัญ รายการสอบถาม (....................) มีความรอบรูใ นภาคทฤษฎีในสาขาวิชา (....................) มีความสามารถในภาคปฏิบัติในสาขาวิชา (....................) สามารถเปนผูน ําและผูร วมงานที่ดไี ด (....................) มีทักษะในการสือ่ สารที่ดี (....................) มีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับเพื่อนรวมงานในระดับตางๆ ไดดี (....................) มีความสามารถในการทํางานเปนทีม (....................) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห วิเคราะหการแกปญ  หา การตัดสินใจได (....................) มีความสามารถในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ (....................) มีความซือ่ สัตย ขยัน เขมแข็ง อดทน (....................) ความเปนผูมีวนิ ยั ในการปฏิบัติงาน (....................) มีความตรงตอเวลา (....................) ภาพรวมความพึงพอใจตอคุณภาพบัณฑิต ความคิดเห็นอืน่ ๆ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ใหผูประกอบการรวบรวมแบบสอบถามและปดผนึกนําสงภาควิชา................................คณะ...................... แนวปฏิบัติ - 142 - - 143 - ภาคผนวก ค. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป - 144 - - 145 - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับ พ.ศ. 2551 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - 146 - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เปนหนึ่งในสามหมวดวิชาของโครงสรางหลักสูตร และนับวามี ความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาหมวดวิชาอื่นใด ซึ่งจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ระบุ “หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง วิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลก ทัศนที่กวางไกล มีความเขาใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอื่นและสังคม เปนผูใฝรู สามารถคิดอยางมีเหตุผล สามารถ ใชภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี มีคณ ุ ธรรม ตระหนักในคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรมทั้งของ ไทยและประชาคมนานาชาติ สามารถนําความรูไปใชในการดําเนินชีวิตและดํารงตนอยูในสังคมไดเปนอยางดี สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทัว่ ไป ในลักษณะจําแนกเปนรายวิชาหรือลักษณะบูรณา การใดๆ ก็ได โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาทีค่ รอบคลุมสาระของกลุมวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร ภาษา และ กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร ในสัดสวนที่เหมาะสม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของวิชาศึกษาทัว่ ไป โดยใหมีจํานวนหนวยกิต รวมไมนอยกวา 30 หนวยกิต อนึ่ง การจัดวิชาศึกษาทัว่ ไปสําหรับหลักสูตรปริญญาตรี(ตอเนื่อง) อาจไดรับการยกเวน รายวิชาที่ไดศกึ ษามาแลวในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือระดับอนุปริญญา ทั้งนี้จํานวนหนวยกิ ตของรายวิชาที่ไดรับการยกเวนดังกลาว เมื่อนับรวมกับรายวิชาที่จะศึกษาเพิม่ เติมในหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ตองไมนอยกวา 30 หนวยกิต” หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง จึงจัดทําขึ้น เพื่อใหรายวิชาตางๆ ของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปมีความสอดคลองกับความเจริญทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และความตองการของสังคมไทย เพื่อพัฒนานักศึกษาในการประยุกตความรูที่ไดรับ มาปรับใชกับ ชีวิตในสังคมไดอยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งนี้หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ฉบับ พ.ศ.2551 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง ฉบับนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ใน คราวประชุมครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันศุกรที่ 4 เมษายน 2551 เรื่อง ขอความเห็นชอบรายวิชาในหมวดวิชาศึกษา ทั่วไป ฉบับ พ.ศ. 2551 สําหรับรายวิชาตางๆ ของแตละสาระกลุมวิชานัน้ คณะสามารถเลือกรายวิชาไดตามปรัชญาและ เหมาะสมเพื่อใหบรรลุวตั ถุประสงคของการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนั้นๆ ตอไป โดยรายวิชาในหมวด - 147 - วิชาศึกษาทั่วไป ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ฉบับ ป พ.ศ. 2551 นี้สามารถ สรุปจํานวนรายวิชาทีแ่ ยกตามกลุมสาระและหนวยงานที่รบั ผิดชอบการสอนไดดังนี้ คณะ วิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร ครุศาสตรอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมเกษตร รวม กลุม วิทยาศาสตรกับ คณิตศาสตร 7 1 2 16 2 28 กลุมวิชาภาษา กลุมวิชา มนุษยศาสตร กลุมวิชา สังคมศาสตร รวม 2 31 33 3 48 51 13 13 7 6 92 2 16 2 125 - 148 - รายชื่อวิชา - 149 - รายชื่อวิชา กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร สาขาวิชาคณิตศาสตรและสถิติ รายวิชาคณะวิทยาศาสตรเปนผูสอนบริการ 90101002 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน MATHEMATICS FOR DAILY LIFE 90101003 สถิติในชีวิตประจําวัน STATISTICS FOR DALIY LIFE 3(3-0-6) 3(3-0-6) สาขาวิชาคอมพิวเตอรและสารสนเทศ รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90102002 การประยุกตระบบสารสนเทศ APPLICATIONS OF INFORMATION SYSTEMS คอมพิวเตอรและการโปรแกรม 90102003 COMPUTERS AND PROGRAMMING 3(3-0-6) 3(3-2-7) สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการ รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90103001 เทคโนโลยียานยนตในชีวิตประจําวัน AUTOMOTIVE TECHNOLOGIES IN EVERYDAY LIFE 3(3-0-6) สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90104001 ความปลอดภัยทางไฟฟา ELECTRICAL SAFETY 90104002 อิเล็กทรอนิกสในชีวิตประจําวัน ELECTRONICS IN EVERYDAY LIFE 3(3-0-6) 3(3-0-6) - 150 - สาขาวิชาพลังงานและสิ่งแวดลอม รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90108005 เทคโนโลยีพลังงานทดแทน RENEWABLE ENERGY TECHNOLOGIES 90108006 เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม ENVIRONMENTAL TECHNOLOGIES 3(3-0-6) 3(3-0-6) - 151 - รายชื่อวิชา กลุมวิชาภาษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90201001 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 FOUNDATION ENGLISH 1 90201002 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 FOUNDATION ENGLISH 2 90201009 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริหาร ENGLISH FOR ADMINISTRATION การพัฒนาทักษะการอานและการเขียนภาษาอังกฤษ 90201012 DEVELOPMENT OF READING AND WRITING SKILLS IN ENGLISH ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการ 90201013 ENGLISH FOR MANAGEMENT ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจ 90201017 ENGLISH FOR BUSINESS การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 90201018 ENGLISH FOR COMMUNICATIVE WRITING ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาตอ 90201022 ENGLISH FOR FURTHER STUDIES ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงาน 90201025 ENGLISH FOR EMPLOYMENT 90201026 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ENGLISH FOR COMMUNICATION 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) - 152 - รายชื่อวิชา กลุมวิชามนุษยศาสตร สาขาวิชาปรัชญา รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90301002 ศิลปะแหงชีวิต ART OF LIVING 3(3-0-6) สาขาวิชาจิตวิทยา รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90302003 มนุษยสัมพันธ HUMAN RELATIONS 90302006 จิตวิทยาในชีวิตประจําวัน PSYCHOLOGY IN DAILY LIFE 3(3-0-6) 3(3-0-6) สาขาวิชาพลศึกษาและนันทนาการ รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ (รายวิชา 3 หนวยกิต) 90303005 การพลศึกษาเบื้องตน INTRODUCTION TO PHYSICAL EDUCATION การจัดการสุขภาพ 90303006 HEALTH MANAGEMENT 90303015 สุขภาพชุมชน COMMUNITY HEALTH 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) สาขาวิชาบูรณาการทางมนุษยศาสตร รายวิชาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90306002 การสรางสรรคงานเปนทีม TEAM CREATIVITY 3(2-3-6) - 153 - รายชื่อวิชา กลุมวิชาสังคมศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90401001 เศรษฐกิจประเทศไทยปจจุบัน CONTEMPORARY THAI ECONOMY 3(3-0-6) สาขาวิชากฎหมาย รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90402001 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป INTRODUCTION TO GENERAL LAWS 90402005 กฎหมายเบื้องตนเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน FUNDAMENTAL LAWS FOR EVERYDAY LIFE 3(3-0-6) 3(3-0-6) สาขาวิชาสังคมวิทยาและรัฐศาสตร รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90403003 พื้นฐานการเมืองการปกครองของไทย FOUNDATION OF THAI POLITICS AND GOVERNMENT สังคมไทยรวมสมัย 90403005 CONTEMPORARY THAI SOCIETY 3(3-0-6) 3(3-0-6) - 154 - คําอธิบายรายวิชา กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร สาขาวิชาคณิตศาสตรและสถิติ รายวิชาคณะวิทยาศาสตรเปนผูสอนบริการ 90101002 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) MATHEMATICS FOR DAILY LIFE วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย ความคิดสรางสรรค การวิเคราะหขอมูลและขาวสาร การให เหตุผล กระบวนการตัดสินใจ ดอกเบี้ย คาเสื่อมราคา กระแสเงินสด หลักการคิดภาษี และการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน Principle and process of human thinking, created thinking, data and news analyzing, cause-effect and decision process, interest, inflation rate, cash flow, principle of taxation and daily life application. สถิติในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) STATISTICS FOR DAILY LIFE วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None ขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปลความหมายขอมูล ความนาจะ เปนการสํารวจตัวอยาง การตัดสินใจ การวิเคราะหแนวโนม และเลขดัชนี Data, Data collection, presentations of data, analysis data, Interpretation of data, probability, Sample survey, decision making, trend and index. 90101003 สาขาวิชาคอมพิวเตอรและสารสนเทศ รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90102002 การประยุกตระบบสารสนเทศ 3(3-0-6) APPLICATIONS OF INFORMATION SYSTEMS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE พัฒนาความเขาใจในระบบสารสนเทศและแนวความคิดของระบบสารสนเทศ การมองระบบสารสนเทศ เปนการรวมกันของเทคโนโลยี มนุษย และขอมูลที่ใชสนับสนุนกระบวนการทํางานของธุรกิจหรืองานอื่น ๆ การประยุกต - 155 - โครงรางของระบบสารสนเทศและการคิดแบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสารสนเทศอยางมีสมรรถภาพในการชวยเขาใจ ระบบ สถานะการณตาง ๆ และผลกระทบตอองคกรและบุคลากร พัฒนาพื้นฐานการตัดสินใจและนโยบายตาง ๆ โดยคํานึงถึง จรรยาบรรณที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสารสนเทศและระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เขาใจถึงการนําระบบสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารมาใชตามยุทธศาสตรขององคกรและบุคลากรขององคกร Developing a thorough understanding of information systems and IS concepts, viewing an individual information system as a combination of the technology, people and data that support business (or other) work processes, applying IS frameworks and other ways of thinking about IS effectively, to help understand systems and situations, and their effects on organizations and people, developing a foundation for making ethical choices and policies about IS and ICTs, understanding how IS and ICTs can be used strategically by organizations and people 90102003 3(3-2-7) คอมพิวเตอรและการโปรแกรม COMPUTERS AND PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE สถาป ต ยกรรมคอมพิ ว เตอร เบื้ อ งต น และสว นประกอบของระบบคอมพิว เตอร ภาษาโปรแกรมและ อัลกอริธึม ซอฟทแวรระบบเบื้องตน ตัวแปลภาษาและระบบปฏิบัติการ การประยุกตคอมพิวเตอรในงานตางๆ รวมทั้งการ ประมวลผลขอมูลและปญญาประดิษฐ Function structure of a computer, Computer languages and algorithm, Introduction to interpreters, compiler and operating system. Applications of computer in data processing and artificial intelligence. สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการ รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90103001 เทคโนโลยียานยนตในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) AUTOMOTIVE TECHNOLOGIES IN EVERYDAY LIFE วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาเครื่องมือที่ใชในการตรวจสอบยานยนตยุคปจจุบัน การใชเครื่องมือตรวจสอบเชนเครื่องวิเคราะห เครื่องยนตอุตสาหกรรม เครื่องตรวจสอบในหองปฏิบัติการ เครื่องมือตรวจสอบตาง ๆ และเครื่องตรวจสอบอุปกรณตรวจวัด หลักการทําความเย็นเบื้องตน และระบบปรับอากาศที่ใชในอุตสาหกรรมยานยนตในปจจุบัน รายละเอียดวงจรอิเล็กทรอนิกส ควบคุมการทํางานของเครื่องอัดอากาศ เครื่องเปาอากาศ และพัดลมหมอน้ํารถยนต รายละเอียด จุดประสงคและการทํางาน ของระบบปรับอากาศ Study of the equipment that is used in diagnosing the modern automobile, the use of diagnostic equipment such as current industry engine analyzers, lab scopes, various meters and sensor testers, the principles of refrigeration, and the air conditioning systems currently used by the automotive industry, details of the electrical control - 156 - circuits for the compressor, blower, and coolant fan(s), description, purpose and function of air conditioning system components. สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90104001 ความปลอดภัยทางไฟฟา 3(3-0-6) ELECTRICAL SAFETY วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE คุณลักษณะทางไฟฟาของรางกายมนุษย อันตรายจากไฟฟาและการปองกัน แนะนําการตอลงดิน ของ อุปกรณเครื่องใชไฟฟา เครื่องตัดไฟรั่ว การปองกันอัคคีภัยจากกระแสไฟฟาลัดวงจร แนะนํามาตรฐานและกฏหมายที่ เกี่ยวของกับความปลอดภัยทางไฟฟา Electrical characteristics of human body, danger from electricity and protection, introduction to earthing of electrical appliances, earth leakage circuit breakers, protection of fire danger from short circuit current, introduction to standards and laws relating to electrical safety อิเล็กทรอนิกสในชีวิตประจําวัน 90104002 3(3-0-6) ELECTRONICS IN EVERYDAY LIFE วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE สารกึ่งตัวนํา แนะนําอุปกรณอิเล็กทรอนิกส วงจรขยายแบบตาง ๆ แนะนําวงจรรวม การประมวลผล สัญญาณ เทคโนโลยีทางโทรทัศน เทคโนโลยีทางระบบเสียง เทคโนโลยีทางการสื่อสาร Semiconductors, introduction to electronic devices, amplifiers, introduction to integrated circuits, signal processing, television technologies, audio technologies, communication technologies สาขาวิชาพลังงานและสิ่งแวดลอม รายวิชาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90108005 เทคโนโลยีพลังงานทดแทน RENEWABLE ENERGY TECHNOLOGIES วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE 3(3-0-6) - 157 - แนะนําแหลงกําเนิดพลังงานสะอาด เซลแสงอาทิตย ระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ระบบความรอน รวม พลังงานชีวมวล เซลเชื้อเพลิง เทคโนโลยีการเชื่อมตอระบบ ผลกระทบทางสิ่งแวดลอม การพิจารณาทางเศรษฐศาสตร และทางสังคม Introduction to clean energy sources, photovoltaics, wind power generation, combined heat power system, biomass energy, fuel cells, interface technologies, environmental effects, economic and social consideration เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) ENVIRONMENTAL TECHNOLOGIES วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE การตระหนักถึงหมวดหมูความรู เทคโนโลยี และนโยบายสาธารณะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการ สิ่งแวดลอม การ ปองกันและความเขาใจแหลงของมลภาวะและกระบวนการจัดการหลักที่ควบคุมมลพิษในอากาศ น้ํา และดิน การเขาใจถึงวิธีการ ปฏิบัติในการใชพื้นดิน ประโยชนของพื้นที่ชายเลน และปจจัยอันซับซอนในการตัดสินในการใชพื้นดิน หลักการพื้นฐานอัน จําเปนตองใชในการควบคุมมลภาวะและเครื่องมือที่ใชในการเฝาระวังมลภาวะตาง ๆ An awareness of how the many facets of science, technology, and public policy are involved in environmental management protection, an understanding of the sources of pollution and the primary processes that control the fate of pollutants in air, water, and soil. practical insights into the use of land, the benefits of wetlands, and the complex factors influencing land-use decisions, basic principles needed to operate the pollution control and pollution monitoring equipment. 90108006 - 158 - คําอธิบายรายวิชา กลุมวิชาภาษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90201001 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3(3-0-6) FOUNDATION ENGLISH 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการฟง การพูด การอาน และการเขียนในบริบทที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน ฝก การใชพจนานุกรม ศึกษาศัพท สํานวน และภาษาจากบทอานที่คัดเลือกจากสิ่งพิมพตางๆ เชน วารสาร หนังสือพิมพ ทบทวน โครงสรางไวยากรณ และการใชภาษาในโอกาสตางๆ A practice of using four language skills related to daily life activities, including the use of dictionary as well as the study of vocabulary, language and expressions in reading passages selected from printed materials such as journals, newspapers, etc as well as a revision of grammatical structures and social functions of language in various situations. ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3(3-0-6) FOUNDATION ENGLISH 2 วิชาบังคับกอน : 90201001 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 PREREQUISITE : 90201001 FOUNDATION ENGLISH 1 ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษในการอาน เขียน ฟง และพูดเพื่อการศึกษา เชน การใชหนังสืออางอิง การอาน กราฟ ตาราง ฯลฯ การเขียนบทสรุป ฟง พูด โตตอบแสดงความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานหรือฟงได รวมทั้งทบทวนโครงสราง ไวยากรณ และการใชภาษาโอกาสตาง ๆ เพิ่มเติม A practice in the use of English in four language skills for academic purposes, for example, using references, reading non-verbal texts, including summary writing, listening and discussion, grammar revision and further practice in social language. 90201002 90201009 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริหาร ENGLISH FOR ADMINISTRATION : 90201002 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : 90201002 FOUNDATION ENGLISH 2 3(3-0-6) - 159 - ศึกษาและฝกการใชโครงสรางภาษา คําศัพท และสํานวนจากบริบทดานการบริหารโดยเนนทักษะการอาน เพื่อความเขาใจ พรอมทั้งฝกประยุกตความรูที่ไดศึกษามา The study and practice of language structures, vocabularies and expressions in the contexts of administration with an emphasis on reading comprehension, including the application of the knowledge studied. การพัฒนาทักษะการอานและการเขียนภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) DEVELOPMENT OF READING AND WRITING SKILLS IN ENGLISH : 90201002 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : 90201002 FOUNDATION ENGLISH 2 ศึกษาวิธีการอานอยางมีประสิทธิภาพ การอานจับใจความ การอานหนังสือพิมพ การอานเพื่อแปลใจความ การ พัฒนาทักษะการเขียน โดยเนนการเขียนที่ถูกรูปแบบทางภาษาและไวยากรณ ฝกการเขียนที่จะนําไปใชประโยชนทั้งทางดาน การศึกษาและอาชีพ เชน การเขียนจดหมาย การกรอกใบสมัคร การเขียนรายงาน เปนตน The study of effective reading techniques in English relevant to reading for the main idea, newspapers reading, reading for translation, writing skills development in English focusing on accuracy in both language forms and grammar beneficial to careers and academic purposes such as writing application letters, filling application forms, writing reports, etc. 90201012 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการ 3(3-0-6) ENGLISH FOR MANAGEMENT : ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE ศึกษาและฝกใชโครงสรางภาษา คําศัพทและสํานวนจากปริบทที่เกี่ยวกับการจัดการ โดยเนนทักษะการอานเพื่อ ความเขาใจพรอมทั้งฝกประยุกตความรูที่ไดศึกษามา The study and practice of language structures, vocabulary and expressions in management contexts with an emphasis on reading comprehension, including the application of knowledge studied. 90201013 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจ 3(3-0-6) ENGLISH FOR BUSINESS วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาและฝกการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ โดยเนนความเขาใจในการอานขอเขียนทางธุรกิจ ประเภทตาง ๆ การใชศัพท สํานวน และภาษาในเชิงธุร กิจ การเขียนจดหมายบันทึกชวยจํา รวมทั้งการฝกฟงและพูดใน สถานการณตาง ๆ ทางธุรกิจ A study and practice in the use of English for business communication, with emphasis on reading texts from various kinds of business, on vocabulary and expression usage in business contexts, on writing business letters, memos, and on listening and speaking in various situations of business. 90201017 - 160 - 90201018 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) ENGLISH FOR COMMUNICATIVE WRITING วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาและฝกการเขียนเพื่อการสื่อสาร โดยเนนฝกการเขียนจดหมายในลักษณะตาง ๆ เขียนรายงาน คําสั่ง คูมือการใช ประวัติสวนตัว รวมทั้งการเขียนบรรยายสิ่งของ สถานที่ เหตุการณและกระบวนการ The study and practice of communicative writing focusing on formal and informal letters, reports, instructions, manuals, personal data, and a description of things, places, events, and processes. ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาตอ 3(3-0-6) ENGLISH FOR FURTHER STUDIES :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE ศึกษาและฝกการใชภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาตอในระดับบัณฑิต โดยเนนฝกการอานขอเขียนทางวิชาการ การ ยอความ การฟง และการเขียนโนตยอ รวมทั้งฝกทําขอทดสอบทางภาษาอังกฤษในรูปแบบตาง ๆ The study and practice of English for further graduate study focusing on academic reading, summary writing, listening and note–taking, including a practice in doing various kinds of English test paper. 90201022 ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงาน 3(3-0-6) ENGLISH FOR EMPLOYMENT :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE พัฒนาความสามารถทางภาษาอังกฤษที่จําเปนในการทํางาน เชนการเขียนใบสมัครงาน จดหมายสมัครงาน การเขียนประวัติยอ เทคนิคในการสอบสัมภาษณ ฝกการสอบสัมภาษณ การอานคูมือในการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน บั น ทึ ก ข อ ความ การเขี ย นใบสั่ ง ของ จดหมายสั่ ง ของ ฝ ก การสนทนาในวงงาน การนํ า เสนองานและการประชุ ม กั บ คณะกรรมการ The development of students’ English proficiency necessary for employment such as filling job application forms, writing application letters and resumes, interviewing techniques, reading manuals, writing reports, memos, letters and orders, a practice in conversation skills relevant to job discussion, presentation and committee meeting. 90201025 90201026 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ENGLISH FOR COMMUNICATION วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE 3(3-0-6) - 161 - การพัฒนาความสามารถในการติดตอสื่อสารโดยใชภาษาอังกฤษ โดยเนนทักษะในการฟงและการพูดที่ใชใน โอกาสตางๆ ฝกการสนทนาเปนกลุมและการนําเสนอผลงานทักษะการอานโดยใชเทคนิคการอานที่หลากหลาย เชนการอานเพื่อหา หัวเรื่อง การอานเพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียดเพื่อเขียนสรุปความ และเขียนรายงาน The development of students’ ability to communicate in English by placing emphasis on listening and speaking skills for different purposes and practice in group discussion and presentation as well as the development of a reading skill by using various reading techniques such as reading for headings, reading for main ideas and details, reading for summarizing and writing reports. - 162 - คําอธิบายรายวิชา กลุมวิชามนุษยศาสตร สาขาวิชาปรัชญา 46 รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90301002 ศิลปะแหงชีวิต 3(3-0-6) ART OF LIVING :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE ศึกษาหลักการดําเนินชีวิตและศิลปะในการแสวงหาความสุขของนักปราชญ นักปรัชญาตาง ๆ ตั้งแตยุค โบราณนักปรัญายุคใหม และนักปรัชญารวมสมัย ทั้งสวนที่เปนแนวคิด แนวปฏิบัติ และทักษะทางจิตวิทยา จากปรัชญาสุข นิยม มนุษยนิยม อัตถิภาวนิยม อุดมคตินิยม พุทธศาสนา ปรัชญาจีน-ญี่ปุน ปฏิบัตินิยม ปรัชญาอินเดีย A study of philosophy, art of life and the ways of happiness according to different thinkers and philosophers from classical, modern and contemporary ages in the areas of ways of thinking, practice and psychological skills of those philosophers: Hedonism, Humanism, Existentialism, Idealism, Buddhism, Chinese – Japanese philosophy, Pracmatism, and Indian philosophy. สาขาวิชาจิตวิทยา 90302003 มนุษยสัมพันธ 3(3-0-6) HUMAN RELATIONS วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ความสัมพันธระหวางบุคคลและกลุมตางๆ ในสังคม อิทธิพลของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่มี บทบาทตอบุคคลและกลุม ศิลปะการพูด การสนทนาและการฟง การปรับตัวใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในสังคมไทย โดย เรียนรูอารยธรรมของมนุษยในแงของอารมณ ความแตกตางระหวางบุคคล และการฝกพฤติกรรมที่เหมาะสมตลอดจนมารยาท ทางสังคม A study of interpersonal and intergroup relations, influences of culture and tradition affecting various aspects of individual and group roles, the arts of speaking, conversation and listening, well-adjusted behavior in different Thai sub-cultures by learning the nature of humans in mental behavior, individual differences and proper behavioral approaches including social manners. - 163 - 90302006 จิตวิทยาในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) PSYCHOLOGY IN DAILY LIFE วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE การนําองคความรู ทฤษฎีและแนวคิดทางจิตวิทยามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เพื่อพัฒนาทักษะทางจิตสังคม ความเขาใจตนเอง และผูอื่น เชนความเขาใจในเรื่องพัฒนาการของมนุษย การเรียนรู การรับรู การคิดการแกปญหา การ จูงใจใหเกิดพฤติกรรมตางๆ การปรับตัวทางดานอารมณ บุคลิกภาพ ตลอดจนการพัฒนาสุขภาพจิต การมีมนุษยสัมพันธที่ดีซึ่ง กันและกัน เพื่อใหมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข Applications of knowledge, theories and concepts of psychology to daily life for improving psychosociological skills, self-understanding and learning others, e.g. understanding the nature of human development, learning, perception, thinking, problem-solving, motivating behavior, adjustment of emotion and personality, including the development of mental health, and good human relationships for living in societies. สาขาวิชาพลศึกษา รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ (รายวิชา 3 หนวยกิต) 3(3-0-6) การพลศึกษาเบื้องตน INTRODUCTION TO PHYSICAL EDUCATION :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE การศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของพลศึกษา ความรูเบื้องตนของการออกกําลังกาย และสมรรถภาพ ของรางกาย การเรียนรูทักษะการเคลื่อนไหวตางๆ เพื่อสงเสริมสุขภาพและพัฒนาจิตใจ ความรูเกี่ยวกับขอบขายของกิจกรรมทาง พลศึกษา กิจกรรมกีฬาทั้งประเภทบุคคลและประเภททีม การจัดกิจกรรมพลศึกษาและกิจกรรมเพื่อนันทนาการ การปองกันการ บาดเจ็บทางกีฬา ตลอดจนการปฐมพยาบาล (ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ) A study of definition and importance of physical education, basic knowledge of exercise and physical fitness, basic movements for health improvement and mental development, fundamental knowledge of the scope and types of physical education activities, sports activities both in individuals and teams, the organization of physical education activities and recreation activities, prevention and treatment of injuries prevalent in sports. 90303005 90303006 การจัดการสุขภาพ HEALTH MANAGEMENT :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE 3(3-0-6) - 164 - ศึกษาเกี่ยวกับความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสุขภาพของรางกายและจิตใจ ธรรมชาติของมนุษยที่มีสุขภาพดี การ พักผอนและการนอนหลับ การจัดการ การปฏิบัติและการทดสอบทางสุขภาพ รางกายและจิตใจ โภชนาการเพื่อสุขภาพ โรค สวนบุคคลและโรคติดตอ การเลือกใชบริการทางการแพทย A study of introduction to physical and mental health, the nature of healthy humans, rest and sleep, management, performance and test of physical and mental health, nutrition for health, disease protection, and medical services. สุขภาพชุมชน 3(3-0-6) COMMUNITY HEALTH วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาสุขปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษาอนามัยของอวัยวะตางๆ ในรางกาย การออกกําลังกาย การนันทนาการ โภชนาการที่ดี การปฐมพยาบาล การปองกันและควบคุมโรคติดตอ ยาและสิ่งเสพติด การวางแผนครอบครัว ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบตอความเปนอยูและสุขภาพของมนุษย รวมทั้งสภาวะสิ่งแวดลอมที่อาจนําไปสู อุบัติเหตุ การแกไขปญหาสุขภาพสวนบุคคล และชุมชน ตลอดจนการศึกษาดูงานนอกสถานที่ A study of physical skills mental development excercising, recreation, nutrition, first aids, disease controlling, medicine and drugs family planning introduction in environmental and hygiene management affecting to human’s health and leving, health problem solving for both individual and community including outside study tours. 90303015 สาขาวิชาบูรณาการทางมนุษยศาสตร 47 รายวิชาคณะสถาปตยกรรมศาสตรเปนผูสอนบริการ 90306002 การสรางสรรคงานเปนทีม 3(2-3-6) TEAM CREATIVITY วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาแนวคิดของการทํางานรวมกับผูอื่น ทั้งประเภทที่เปนบุคคล ธุรกิจ และชนิดขององคกรธุรกิจ ศึกษา ทฤษฎีจริยธรรมและบทบาทของคานิยมในสังคม การใหความสําคัญและการพัฒนาความรับผิดชอบในระดับบุคคล สังคมและ ธุรกิจ ตลอดจนพฤติกรรมของบุคคลทางดานจริยธรรม Study on the concept of working cooperation such as personal behavior, business and type of business, study on ethical theory and roles of social values developed on their importance and responsibility, social and business together with personal behavior on ethics. - 165 - คําอธิบายรายวิชา กลุมวิชาสังคมศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90401001 เศรษฐกิจประเทศไทยปจจุบัน 3(3-0-6) CONTEMPORARY THAI ECONOMY :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE ศึกษาโครงสรางระบบเศรษฐกิจไทยทั้งในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต นโยบายทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ สาเหตุและแนวทางแกไขปญหาเศรษฐกิจที่สําคัญ A study of Thai economic structures in the past, present and future, economic policies, important national economic activities, causes of and solutions for important economic problems. สาขาวิชากฎหมาย 50 รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 90402001 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป 3(3-0-6) INTRODUCTION TO GENERAL LAWS วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาความจําเปนที่ตองมีกฎหมายใชบังคับในสังคม ความหมายของกฎหมาย ลักษณะของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย กฎหมายการทะเบียนราษฎร กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร กฎหมายแพงที่เกี่ยวของใน ชีวิตประจําวัน บุคคล ครอบครัว มรดก พินัยกรรม การทําเอกสารและสัญญา ความรูเกี่ยวกับทรัพย ความรูเกี่ยวกับที่ดิน หลักเกณฑของกฎหมายในการทํานิติกรรมและสัญญา สัญญาประเภทตาง ๆ ที่พบไดบอย ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย อาญา ความรับผิดในทางอาญา เหตุยกเวนความผิดและเหตุ ยกเวนโทษ A study of the basic features of laws: the need for legal orders in the society, meaning of laws, characteristics of laws, the classification of laws, census records, laws on military conscription, civil laws related to everyday life, persons, family, succession, wills, document and contract making, basic knowledge about properties, laws of land, laws on juristic acts and contracts, other types of contracts frequently used, basic knowledge about criminal laws, criminal liability, suspension of punishment, exemption from guilt and punishment. 90402005 กฎหมายเบื้องตนเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) - 166 - FUNDAMENTAL LAWS FOR EVERYDAY LIFE วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาความรู พื้ นฐานเกี่ยวกั บสิทธิ ในความเป นมนุษย ภายใต กรอบแห งรั ฐธรรมนู ญ และกฎหมายอื่ นที่ เกี่ยวของ ความคุมครองในการจัดทําเอกสาร สัญญา รูปแบบตางๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการ ประกอบอาชีพในรูปแบบตางๆ ที่พบบอย ภายใตกรอบแหงกฎหมายและสังคมไทย การติดตอกับหนวยงานของทางราชการ อัน ไดแก อําเภอ สถานีตํารวจ ศาล และสิทธิ หนาที่ทางภาษีสําหรับประชาชนโดยทั่วไป A study of the basic features of human rights under the constitutional framework and other related laws, safeguards for the preparation of documents and contracts involved in everyday life, fundamental knowledge under the framework of Thai society and laws concerning types of occupational conduct which are frequently encountered, the contact with government units such as Amphur office, police station and court of law, as well as tax obligations and rights of general citizen. สาขาวิชาสังคมวิทยาและรัฐศาสตร 48 รายวิชาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมเปนผูสอนบริการ 3(3-0-6) 90403003 พื้นฐานการเมืองการปกครองของไทย FOUNDATION OF THAI POLITICS AND GOVERNMENT :ไมมี วิชาบังคับกอน PREREQUISITE : NONE ศึกษาสภาพทั่วไปของการเมืองการปกครอง หลักและแนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย ประวัติ การเมืองการปกครองไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน สถาบันทางการเมือง กระบวนการและพฤติกรรมทางการเมือง ปญหาและ แนวโนมการเมืองการปกครองของไทย A study of general traits of politics and government, principles and concepts of democracy, Thai politics and government from past to present, political institutions, political processes and behaviors, problems and the trend of Thai politics and government. สังคมไทยรวมสมัย 3(3-0-6) CONTEMPORARY THAI SOCIETY วิชาบังคับกอน :ไมมี PREREQUISITE : NONE ศึกษาโครงสรางสังคมไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและประเด็นอื่นๆ รวมทั้งเรื่องปญหาของสังคมไทยและการศึกษาดูงานนอกสถานที่ ในเรื่องที่เกี่ยวของ A study of Thai social structure from past to present about economy, society, politics, government, laws, religion, culture, environment etc., as well as Thai social problems and the field study of relevant topics. 90403005